การผ่าตัดปากมดลูกผ่านกล้องส่องผ่านช่องท้องโดยเก็บมดลูกไว้มีโอกาสตั้งครรภ์สำหรับผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก : ความสำเร็จครั้งแรกในระเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยนอกและผู้รับบริการอื่น ๆ เฉลี่ย / เดือน หน่วย : ครั้ง ( เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ )
Advertisements

นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
ผู้ที่สามารถใช้สิทธิได้
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
กลุ่มวิจัยธาลัสซีเมีย
NAVY WATER BED 2012.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
Thailand Research Expo
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ภัยแอบแฝงที่แก้ได้
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม

การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ชื่อโครงการ.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กรกฎาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Tonsillits Pharynngitis
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
ศัลยกรรมเสริม หน้าอก. สารบัญ  ลักษณะของถุงเต้านมเทียม  รูปทรงของถุงเต้านม  ขั้นตอนการผ่าตัดเสริมหน้าอก  การดูแลหลังการผ่าตัดเสริมหน้าอก.
ภาวะมีบุตรยาก น.พ. สุรชัย เดชอาคม ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน ตุลาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ลักษณะการประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยที่คณะกรรมการการแพทย์ จะ พิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาล.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 กุมภาพันธ์ 2549.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน พฤษภาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผ่าตัดปากมดลูกผ่านกล้องส่องผ่านช่องท้องโดยเก็บมดลูกไว้มีโอกาสตั้งครรภ์สำหรับผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก : ความสำเร็จครั้งแรกในระเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เกริ่นนำ มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในมะเร็งอวัยวะสืบพันธ์สตรี ในแต่ละปีประเทศไทยจะพบผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 6,000 ราย และ ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยจะเสียชีวิต โดยเฉลี่ยในแต่ละวันประเทศไทยจะมีผู้ป่วยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกวันละ 8 ราย สำหรับโรงพยาบาลศิริราชจะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ 500 รายต่อปี

การรักษาโดยมาตรฐานสำหรับผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะที่หนึ่ง คือ การตัดมดลูก เนื้อเยื่อข้างมดลูกร่วมกับการเลาะต่อมน้ำเหลืองในอุ้งเชิงกราน อัตราการหายหลังผ่าตัดประมาณ 90 %

ข้อเสีย ข้อเสียของการผ่าตัดแบบมาตรฐานเก่าคือผู้ป่วยจะไม่มีประจำเดือนและสูญเสียความสามารถในการมีบุตรอย่างถาวร ในปัจจุบันสตรีไทยแต่งงานช้า มีบุตรช้า มะเร็งปากมดลูกมีแนวโน้มที่จะเกิดในสตรีอายุน้อยลง การผ่าตัดแบบมาตรฐานเก่าถึงแม้จะให้อัตราการหายที่สูงแต่ผู้ป่วยจะสูญเสียความสามารถในการมีบุตรอย่างถาวร

การผ่าตัดแบบใหม่ การผ่าตัดแบบใหม่คือการตัดเฉพาะปากมดลูก เนื้อเยื่อข้างปากมดลูก ร่วมกับการเลาะต่อมน้ำเหลืองในอุ้งเชิงกราน จากการศึกษาในต่างประเทศพบว่าให้อัตราการหายที่สูงประมาณ 90% เช่นเดียวกัน แต่มีข้อดี คือ ผู้ป่วยยังคงมีมดลูกและยังมีโอกาสที่จะตั้งครรภ์ได้

ร่วมกับเทคนิคการผ่าตัดผ่านกล้องส่องทางช่องท้องที่พัฒนาขึ้นทำให้การผ่าตัดมีข้อดีเพิ่มขึ้นคือ 1. แผลเล็ก เจ็บแผลน้อย 2. ฟื้นตัวเร็ว 3. เสียเลือดน้อยกว่า 4. มีความแม่นยำสูง สามารถเก็บอวัยวะที่สำคัญได้ เช่น เส้นเลือดที่มาเลี้ยงมดลูก

การสอดเครื่องมือเล็กๆผ่านผนังหน้าท้อง

อวัยวะภายในช่องท้องที่เห็นจากกล้อง

เปรียบเทียบแผลผ่าตัด

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลประสบความสำเร็จ การผ่าตัดปากมดลูกผ่านกล้องส่องผ่านโดยเก็บมดลูกไว้สำหรับผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก : ความสำเร็จครั้งแรกใประเทศไทยและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะที่หนึ่ง อายุน้อย ยังไม่มีบุตร ยังมีความต้องการมีบุตร มาปรึกษาที่ภาควิชาสูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา โรงพยาบาลศิริราช

ภาควิชาสูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ตรวจเพิ่มเติม ให้ข้อมูลทางเลือกของการผ่าตัด ผู้ป่วยเลือกการผ่าตัดผ่านกล้องส่องทางช่องท้องตัดเฉพาะปากมดลูกโดยเก็บมดลูกไว้

การผ่าตัด คณะแพทย์ภาควิชาสูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้ทำการผ่าตัดส่องกล้องผ่านทางช่องท้องตัดปากมดลูก เนื้อเยื่อข้างมดลูกร่วมกับการเลาะต่อมน้ำเหลืองในอุ้งเชิงกราน การผ่าตัดประสบความสำเร็จ ผู้ป่วยฟื้นตัวได้ดี ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง

การตรวจติดตาม จากการตรวจติดตามเป็นเวลา 10 เดือน ผู้ป่วยสบายดี ปลอดจากโรค ผู้ป่วยมีประจำเดือนสม่ำเสมอดีทุกเดือนตั้งแต่เดือนแรกหลังผ่าตัด

ความสำเร็จ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ประสบความสำเร็จในการผ่าตัดผ่านกล้องส่องทางช่องท้องเพื่อตัดปากมดลูกและเลาะต่อมน้ำเหลืองในอุ้งเชิงกรานได้เป็นครั้งแรกในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความสำเร็จนี้จะเป็นความหวังของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกว่าจะสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยที่ไม่ต้องตัดมดลูก ยังมีโอกาสที่จะมีบุตรได้

ขอบคุณครับ !