วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

ครูวันเพ็ญ กริ่งกาญจนา เรียบเรียงโดย นิพนธ์ วีระธรรมานนท์
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ผลพลอยได้จากเมล็ดพืชน้ำมัน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
Chemical Properties of Grain
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การวิเคราะห์อาหารสัตว์
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
โดย นายณรงค์ชัย มั่นศักดิ์
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 435/2540 เรื่อง กำหนดประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมที่อนุญาตให้ระบายน้ำทิ้งให้มีค่ามาตรฐานแตกต่างจากค่ามาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ในประกาศกรมเจ้าท่า.
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เตาไมโครเวฟ.
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
************************************************
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
(B2E Rice Bran Oil and Germ)
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
กินตามกรุ๊ปเลือด.
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
อาหารทารก แรกเกิด - 12เดือน
หลักการเลือกซื้ออาหาร
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
การผลิตข้าวฮาง บ้านนาแก หมู่ที่ 7 ตำบลนาแก อำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู การแช่ข้าวเปลือก นำเมล็ดข้าวเปลือกมาล้างทำความสะอาดเพื่อเอาสิ่งเจือปนออก แช่เมล็ดข้าวเปลือกในน้ำนาน.
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว

Rice and Rice Products ข้าวเปลือกเมื่อผ่านกระบวนการสีข้าว : ข้าวสาร 50% ปลายข้าว 16% รำ 9% แกลบ 25% 1. ข้าวเปลือก ( paddy rice , rough rice) มีโปรตีนน้อยกว่าข้าวโพด มีเยื่อใยสูง ต้องนำมาบดก่อนใช้เลี้ยงสัตว์ ยกเว้นในอาหารสัตว์ปีก ข้าวเปลือกบด ( ground rough rice) เมล็ดข้าวเปลือกทั้งเมล็ดที่นำมาบดโดยไม่กระเทาะ หรือ แยกเอาสวนเปลือกออก

2. แกลบ ( rice hull ) มี silica สูง 3. รำหยาบ หรือ แกลบปนรำ ( rice bran) : bran + germ + broken rice + endosperm + hull : โปรตีน 11-13%สูงกว่าข้าวโพด เยื่อใยไม่เกิน 13% : ไขมัน 10-15%( กรดไขมันไม่อิ่มตัว ) เมื่อสีใหม่ๆมีความน่ากินสูงมาก แต่ทิ้งไว้นานจะมี กลิ่นหืน : มี P, niacin และ thiamine สูง : ในสุกรใช้ >30% มีปัญหาไขมันเหลว ( soft pork )

4. รำละเอียดหรือรำอ่อน รำข้าวขัดหรือรำข้าวขาว Rice polishing, rice polish : ได้จากการขัดเมล็ดข้าว รำละเอียดหรือรำอ่อน ได้จากการขัดข้าวกล้องให้เป็นข้าวขาว bran +germ + hull ชิ้นเล็ก +broken rice นิยมใช้เลี้ยงสัตว์ ใขมันสูง หืนง่าย

- รำข้าวขาว : ได้จากการขัดข้าวขาวให้ผิวหายขรุขระ : แป้งของเมล็ดข้าว : เก็บได้นานโดยไม่หืน : NFE สูง มี B1 และ niacin สูง, TDN สูงกว่ารำหยาบ ใช้มากกว่า 25% ในอาหารโคนม ทำให้เม็ดไขมันเหลว ใช้มากกว่า 30% ในอาหารสุกร เกิด soft pork ใช้เลี้ยงสุกรพ่อแม่พันธุ์ และแม่สุกรเลี้ยงลูก

5. รำโรงสีเล็กหรือรำผสม ( rice mill feed ) : รำละเอียด + ปลายข้าว + แกลบ : คุณภาพต่ำ ไม่แน่นอน 6. รำข้าวนึ่ง (preboiled rice bran) : ได้จากการสีข้าวเปลือกที่แช่น้ำประมาณ 4-5 วัน แล้ว นำมานึ่งให้ข้าวสุกนิดหน่อย ตาก อบแห้ง สี : รำหยาบ +รำละเอียด มีสีคล้ำ เหม็นเปรี้ยว : ใขมัน > 18 % เยื่อใยต่ำกว่ารำหยาบ : คุณภาพดีกว่ารำหยาบและรำละเอียด

7. รำสกัดน้ำมัน ( solvent extracted rice polish ) รำละเอียดที่นำมาสกัดน้ำมันออกโดยใช้สารละลาย - เยื่อใยไม่เกิน 14% โปรตีนไม่ต่ำกว่า 14% - TDN ต่ำ - ความน่ากินลดลง เป็นฝุ่น แห้ง ฝืดคอ - lysine ใช้ประโยชน์ได้น้อยลง - ใช้แทนที่รำสด โดยต้องปรับระดับ lysine

คุณค่าทางโภชนะของรำข้าว รำละเอียด อาหารพลังงานที่ดี กรดใขมันที่จำเป็น วิตามิน B หลายชนิด ( thiamine, pantothenic acid, choline, niacin) โปรตีนมีกรดแอมิโนสมดุลกว่าโปรตีนข้าวโพด แต่มี lysine, trypthophane ต่ำ เยือใยสูง ฟ่าม อัดเม็ดอาหารผสม มีคุณสมบัติเป็นยาระบายอ่อนๆ

ไม่ควรใช้เกิน 30 % ของอาหารผสม ไม่ควรใช้ในอาหารลูกสุกรเล็ก (ไม่เกิน 5 % ของอาหารผสม) สุกรพันธุ์ ใช้ได้ถึง 80 % โดยไม่เกิดผลเสีย รำสกัดน้ำมันราคาถูกใช้แทนรำละเอียดได้ แต่ต้องคำนึงถึงแหล่งพลังงาน ไม่ควรใช้ในอาหารสุกรท้องเพราะอาจมีสารเคมีตกค้าง

ข้อสังเกตในการใช้รำ 1. นิยมใช้รำสด แต่หืนง่าย - ไก่ไข่ ไม่ควรใช้รำที่เก็บไว้เกิน 1 สัปดาห์ 2. รำใหม่ - กลิ่นหอม, หวานเล็กน้อย - มีความหยุ่นตัวมาก สีจาง

4. การปลอมปน - รำเก่าปนรำใหม่ รำหยาบ - รำสกัดน้ำมัน แกลบบด + ซังข้าวโพด หินฝุ่น

ปลายข้าว (broken rice ) germ + เศษเมล็ดข้าวที่แตกหัก ปลายข้าวสาร (ปลายข้าวเหนียว ปลายข้าวจ้าว) ปลายข้าวนึ่ง ข้าวเปลือกแช่น้ำ ความชื้น 35 % (1-3 วัน) ต้มในน้ำเดือด 30-35 นาที สี ทำให้แห้ง ความชื้น 13-14 %

ให้พลังงานมากกว่าข้าวโพด 6 % lysine สูงกว่าข้าวโพดเล็กน้อย TDN สูง ( 78 %) ให้พลังงานมากกว่าข้าวโพด 6 % lysine สูงกว่าข้าวโพดเล็กน้อย ความน่ากินต่ำ ปลายข้าวดิบแข็ง ไม่ควรใช้ปลายข้าวดิบผสมในอาหารสุกรเล็กเกิน 30 % ของสูตรอาหาร อาหารสุกรขุน ไขมันแข็ง สีขาว ขาด xanthophyll ในสูตรอาหารสัตว์ปีกถ้าใช้สูง ไก่กระทงสีหนังซีด ไก่ใข่ ใข่มีสีซีด