วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
Rice and Rice Products ข้าวเปลือกเมื่อผ่านกระบวนการสีข้าว : ข้าวสาร 50% ปลายข้าว 16% รำ 9% แกลบ 25% 1. ข้าวเปลือก ( paddy rice , rough rice) มีโปรตีนน้อยกว่าข้าวโพด มีเยื่อใยสูง ต้องนำมาบดก่อนใช้เลี้ยงสัตว์ ยกเว้นในอาหารสัตว์ปีก ข้าวเปลือกบด ( ground rough rice) เมล็ดข้าวเปลือกทั้งเมล็ดที่นำมาบดโดยไม่กระเทาะ หรือ แยกเอาสวนเปลือกออก
2. แกลบ ( rice hull ) มี silica สูง 3. รำหยาบ หรือ แกลบปนรำ ( rice bran) : bran + germ + broken rice + endosperm + hull : โปรตีน 11-13%สูงกว่าข้าวโพด เยื่อใยไม่เกิน 13% : ไขมัน 10-15%( กรดไขมันไม่อิ่มตัว ) เมื่อสีใหม่ๆมีความน่ากินสูงมาก แต่ทิ้งไว้นานจะมี กลิ่นหืน : มี P, niacin และ thiamine สูง : ในสุกรใช้ >30% มีปัญหาไขมันเหลว ( soft pork )
4. รำละเอียดหรือรำอ่อน รำข้าวขัดหรือรำข้าวขาว Rice polishing, rice polish : ได้จากการขัดเมล็ดข้าว รำละเอียดหรือรำอ่อน ได้จากการขัดข้าวกล้องให้เป็นข้าวขาว bran +germ + hull ชิ้นเล็ก +broken rice นิยมใช้เลี้ยงสัตว์ ใขมันสูง หืนง่าย
- รำข้าวขาว : ได้จากการขัดข้าวขาวให้ผิวหายขรุขระ : แป้งของเมล็ดข้าว : เก็บได้นานโดยไม่หืน : NFE สูง มี B1 และ niacin สูง, TDN สูงกว่ารำหยาบ ใช้มากกว่า 25% ในอาหารโคนม ทำให้เม็ดไขมันเหลว ใช้มากกว่า 30% ในอาหารสุกร เกิด soft pork ใช้เลี้ยงสุกรพ่อแม่พันธุ์ และแม่สุกรเลี้ยงลูก
5. รำโรงสีเล็กหรือรำผสม ( rice mill feed ) : รำละเอียด + ปลายข้าว + แกลบ : คุณภาพต่ำ ไม่แน่นอน 6. รำข้าวนึ่ง (preboiled rice bran) : ได้จากการสีข้าวเปลือกที่แช่น้ำประมาณ 4-5 วัน แล้ว นำมานึ่งให้ข้าวสุกนิดหน่อย ตาก อบแห้ง สี : รำหยาบ +รำละเอียด มีสีคล้ำ เหม็นเปรี้ยว : ใขมัน > 18 % เยื่อใยต่ำกว่ารำหยาบ : คุณภาพดีกว่ารำหยาบและรำละเอียด
7. รำสกัดน้ำมัน ( solvent extracted rice polish ) รำละเอียดที่นำมาสกัดน้ำมันออกโดยใช้สารละลาย - เยื่อใยไม่เกิน 14% โปรตีนไม่ต่ำกว่า 14% - TDN ต่ำ - ความน่ากินลดลง เป็นฝุ่น แห้ง ฝืดคอ - lysine ใช้ประโยชน์ได้น้อยลง - ใช้แทนที่รำสด โดยต้องปรับระดับ lysine
คุณค่าทางโภชนะของรำข้าว รำละเอียด อาหารพลังงานที่ดี กรดใขมันที่จำเป็น วิตามิน B หลายชนิด ( thiamine, pantothenic acid, choline, niacin) โปรตีนมีกรดแอมิโนสมดุลกว่าโปรตีนข้าวโพด แต่มี lysine, trypthophane ต่ำ เยือใยสูง ฟ่าม อัดเม็ดอาหารผสม มีคุณสมบัติเป็นยาระบายอ่อนๆ
ไม่ควรใช้เกิน 30 % ของอาหารผสม ไม่ควรใช้ในอาหารลูกสุกรเล็ก (ไม่เกิน 5 % ของอาหารผสม) สุกรพันธุ์ ใช้ได้ถึง 80 % โดยไม่เกิดผลเสีย รำสกัดน้ำมันราคาถูกใช้แทนรำละเอียดได้ แต่ต้องคำนึงถึงแหล่งพลังงาน ไม่ควรใช้ในอาหารสุกรท้องเพราะอาจมีสารเคมีตกค้าง
ข้อสังเกตในการใช้รำ 1. นิยมใช้รำสด แต่หืนง่าย - ไก่ไข่ ไม่ควรใช้รำที่เก็บไว้เกิน 1 สัปดาห์ 2. รำใหม่ - กลิ่นหอม, หวานเล็กน้อย - มีความหยุ่นตัวมาก สีจาง
4. การปลอมปน - รำเก่าปนรำใหม่ รำหยาบ - รำสกัดน้ำมัน แกลบบด + ซังข้าวโพด หินฝุ่น
ปลายข้าว (broken rice ) germ + เศษเมล็ดข้าวที่แตกหัก ปลายข้าวสาร (ปลายข้าวเหนียว ปลายข้าวจ้าว) ปลายข้าวนึ่ง ข้าวเปลือกแช่น้ำ ความชื้น 35 % (1-3 วัน) ต้มในน้ำเดือด 30-35 นาที สี ทำให้แห้ง ความชื้น 13-14 %
ให้พลังงานมากกว่าข้าวโพด 6 % lysine สูงกว่าข้าวโพดเล็กน้อย TDN สูง ( 78 %) ให้พลังงานมากกว่าข้าวโพด 6 % lysine สูงกว่าข้าวโพดเล็กน้อย ความน่ากินต่ำ ปลายข้าวดิบแข็ง ไม่ควรใช้ปลายข้าวดิบผสมในอาหารสุกรเล็กเกิน 30 % ของสูตรอาหาร อาหารสุกรขุน ไขมันแข็ง สีขาว ขาด xanthophyll ในสูตรอาหารสัตว์ปีกถ้าใช้สูง ไก่กระทงสีหนังซีด ไก่ใข่ ใข่มีสีซีด