Tetracyclines คุณสมบัติทางเคมี เป็นกลุ่มยาที่มีพิษน้อยและใช้กันมาก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

เพราะความเป็นห่วง.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
Chloramphenicol กลไกการออกฤทธิ์
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
AMINOGLYCOSIDES เป็นยากลุ่มที่นิยมใช้น้อยกว่ากลุ่มเพนนิซิลลินเนื่องจากมีความเป็นพิษสูง แต่สามารถนำมาใช้ร่วมกับยาในกลุ่มเพนนิซิลลินทำให้สามารถออกฤทธิ์เพิ่มได้อย่างทวีคูณ.
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
POISON สารใดๆก็ตามที่อยู่ในรูปของแข็ง หรือ ของเหลว หรือ แก๊ส เมื่อเข้าสู่ร่างกายของสัตว์แล้ว ไปขัดขวาง / ยับยั้ง การทำงานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย โดยมีผลไป.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
II. Chronic Debilitating diseases
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
สารเมลามีน.
whey เวย์ : casein เคซีน
สิ่งที่แม่ควรรู้ >>>กลไกการหลั่งน้ำนม
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
Myasthenia Gravis.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
Nipah virus.
Foundation of Nutrition
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
กำมะถัน (Sulfur).
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Tetracyclines คุณสมบัติทางเคมี เป็นกลุ่มยาที่มีพิษน้อยและใช้กันมาก รูปแห้ง คงตัวสูง ใช้ผสมอาหารให้สัตว์เลี้ยง ตัวที่ใช้คือ คลอร์เตตราซัยคลิน ซึ่งมีรายงานว่าเป็น growth promoter ด้วย รูปสารละลายสามารถผสมน้ำให้สัตว์ได้ แต่สลายตัวได้ง่าย เมื่อยาเสียจะได้ epianhydrotetracycline และ anhydrotetracycline ทำให้เกิดเป็นพิษ คือ อาเจียน มีโปรตีนและน้ำตาลปนในปัสสาวะ Tetracyclines

กลไกการออกฤทธิ์ ออกฤทธิ์ยับยั้งการขยายตัวของแบคทีเรียโดยขัดขวางการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลแบคทีเรียที่มีความไวต่อยา ยาจะเข้าไปรวมกับส่วน ‘30S’ ไรโบโซมของแบคทีเรีย หากยามีปริมาณสูงก็จะขัดขวางการสังเคราะห์โปรตีนในเซลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทุกชนิด และจะออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียได้ด้วย Tetracyclines

ขอบเขตการออกฤทธิ์ เป็นยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กว้าง ใช้ได้ทั้งเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก และแกรมลบ แต่ฤทธิ์ที่มีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกก็ไม่ดีเท่ากลุ่มยา เพนนิซิลลินและฤทธิ์ที่มีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบก็ไม่ดีเท่ากลุ่ม อะมิโนกลัยโคไซด์ นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ต่อไมโคพลาสมา ไวรัส และ ริคเกทเซียบางชนิด เช่น Anaplasma spp. Tetracyclines

การใช้ Tetracycline ร่วมกับปฏิชีวนะชนิดอื่น ๆ ไม่ค่อยได้ผลดีนัก เช่น Tetracycline + Penicillin แต่ในบางกรณี ใช้ Tetracycline ร่วมกับ bacteriostatic antibiotic ให้ผลดีกว่าใช้ยาตัวใดตัวหนึ่งเพียงตัวเดียว เช่น ใช้ Tetracycline ร่วมกับ Streptomycin รักษาโรค brucellosis เชื้อบางตัวดื้อยาได้ เนื่องจากมีการใช้ยาในกลุ่มนี้ผสมอาหารสัตว์มานานแล้ว และเมื่อเชื้อดื้อยา Tetracycline ตัวหนึ่ง ก็จะดื้อยาในกลุ่ม Tetracycline ตัวอื่น ๆ ด้วย ขบวนการดื้อยาเกิดจากการลดการซึมผ่านของยาเข้าไปในเซลและขบวนการนี้ถูกถ่ายทอดผ่านทางพลาสมิด Tetracyclines

1. Absorption ฤทธิ์ทางเภสัชจลนศาสตร์ เมื่อให้ยากิน ส่วนใหญ่ของยาในกลุ่มนี้ ดูดซึมในลำไส้ส่วนต้นซึ่งมี pH ในระหว่าง 3.6-7.4 (pKa ยา = 2) ยาจะต้องมีการละลายในกระเพาะก่อนที่จะมีการดูดซึม ถ้ามีอาหารในกระเพาะจะทำให้ ยาถูกดูดซึมไม่ดีควรให้กินยา อย่างน้อย 1-2 ชั่วโมงก่อนกินอาหาร Tetracyclines

1. Absorption (ต่อ) ห้ามให้พร้อม Calcium (นม), Magnesium (ยาถ่าย), Aluminium (ยาลดกรด), ยาที่มีโลหะหนักเป็นองค์ประกอบ (เช่น ยาบำรุงโลหิต) การให้ลูกโคกินยาคลอร์เตตราซัยคลินพร้อมกับนม พบว่าใช้เวลาประมาณ 6-8 ชม.จึงจะดูดซึมได้สูงสุด เนื่องจากยามีการรวมกับ แคลเซี่ยมในนม Tetracyclines

1. Absorption (ต่อ) การให้ยาคลอร์เตตราซัยคลินในสัตว์เคี้ยวเอื้องโดยการกินตามขนาดที่กำหนด อาจจะมีผลรบกวนต่อการย่อยอาหารบ้าง แต่อาการจะปรากฏในระยะต้นๆเท่านั้น อาการผิดปกติจะหายไปเองในระยะ ต่อมา (มาลินี, 2540) ถ้าให้ยาโดยวิธีฉีดพบว่าออกซีเตตร้าซัยคลินจะมีการดูดซึมได้ดีมาก นอกจากนี้ยาจะสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อบริเวณที่มีการฉีดยา ซึ่งบริเวณที่ฉีดจะมีสีเหลืองของยาอยู่ นอกจากนี้ควรงดส่งเนื้อ 18-20 วันก่อนส่งโรงฆ่าเพื่อบริโภค (มาลินี, 2540) Tetracyclines

2. Distribution ยาในกลุ่มนี้มีการกระจายตัวต่างกันขึ้นกับว่ายามีการละลายในไขมันและถูกดูดซึมได้มากน้อยเพียงใด หลังดูดซึมยากระจายไปเกือบทุกส่วน สามารถผ่านเยื่อหุ้มสมองได้บ้าง (เมื่อเกิดการอักเสบ) และ ผ่าน placental barrier ได้ ยามีความเข้มข้นสูงใน bone marrow, spleen, lymph node, liver, lung, kidney ความเข้มข้นปานกลางใน น้ำลาย น้ำนม ตา ยาสามารถเกาะกับฟัน ทำให้เปลี่ยนสีได้ Tetracyclines

3. การขับออก ยาถูกทำลายที่ตับ ขับออกผ่านน้ำดีปนออกมากับอุจจาระเป็นส่วนใหญ่ และมียาบางส่วนขับออกมาทางปัสสาวะด้วย ยาในรูป bound drug วนเวียนในร่างกายได้โดยทางน้ำดี กระแสเลือดทำให้ยาสามารถอยู่ในร่างกายได้นาน (enterohepatic cycle) Tetracyclines

ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ ยาในกลุ่มนี้มีฤทธิ์ระคายเคืองกระเพาะอาหาร ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด ท้องเฟ้อ ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์ เนื่องจากยาสะสมในกระดูกและฟัน ทำให้เปลี่ยนเป็นสีเทาอมเหลืองมอๆ ไม่ควรใช้ในรายที่ป่วยด้วยโรคตับหรือไต ไม่ควรใช้ยาติดต่อกันนานเกินไปเนื่องจากยาออกฤทธิ์กว้างจะมีผลทำลาย normal flora Tetracyclines

การใช้ยา ใช้สำหรับโรคซึ่งเกิดจาก แบคทีเรียได้ทั้ง แกรมบวก และ แกรมลบ ขอบข่ายของ bacterial spectrum นั้น overlaps กับของ Penicillin ใช้ในกรณีที่ Penicillin ใช้ไม่ได้ผล ควรให้ยาในขณะท้องว่าง หากระคายเคืองให้อาหารที่มีแร่ธาตุต่ำ ปนได้บ้าง Tetracyclines

การใช้ยา (ต่อ) ห้ามให้ยาร่วมกับอาหารที่กล่าวมาแล้ว ห้ามให้ในสัตว์ป่วยเป็นโรคตับ เพราะจะทำให้ยาสะสมและถูกขับออกช้ากว่าปกติ ตัวอย่างยาในกลุ่มTetracyclines ได้แก่ Tetracycline, Chlortetracycline, Oxytetracycline, Doxycycline Tetracyclines

ตารางที่ แสดงรายละเอียดของการให้ยาในกลุ่ม Tetracyclines