CS Assembly Language Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to C Introduction to C.
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
หลังการประกอบเครื่อง บทที่ 8
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
โปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
VBScript.
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การใช้งานเครื่องถ่าย
การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 29.
CS Assembly Language Programming Period 12.
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 16.
Computer Programming 1 LAB # 6 Function.
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School
Number Representations
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
การพิมพ์งานมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
การใช้งาน Microsoft Excel
C Programming Lecture no. 6: Function.
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows XP
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
CS Assembly Language Programming Period 14.
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 6.
CS Assembly Language Programming Period 30.
CS Assembly Language Programming Period 28.
CS Assembly Language Programming Period 13.
การบันทึกรายการสินทรัพย์
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี้ (2)
Computer Coding & Number Systems
อินเทอร์รัพท์ (Interrupt)
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
หน่วยนำข้อมูลเข้าและออก Input Unit And Output Unit
เหตุการณ์ในโปรแกรม Game Maker
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
Week 2 Variables.
CS Assembly Language Programming
Computer Programming for Engineers
1.SQL injection 2.Dictionary Attack 3.Brute Force วิธีการ Hack.
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
A QUICK OVERVIEW OF PDP-8 ARCHITECTURE
รหัสคอมพิวเตอร์.
ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
Java Network Programming 1
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CS344-321 Assembly Language Programming Period 36

Keyboard เมื่อผู้ใช้กดปุ่มบน keyboard จะเกิด interrupt INTR บิต 1 ไปยัง 8259 ถ้า interrupt นี้มีผล interrupt handler (9) ของ keyboard จะอ่านค่า scan code จาก keyboard ที่ port 60h เช่น ESC จะมี scan code เป็น 1 เป็นต้น ดู scan code ใน sheet ข้อมูลจาก port 60h ไม่ใช่ ASCII code เป็นหน้าที่ของ interrupt handler ของ keyboard ใน ROM BIOS จะแปลงเป็น ASCII code ให้ และใส่ค่าที่แปลงแล้วไว้ใน queue (memory location 0000:041E ) เพื่อที่ DOS จะได้นำไปใช้ได้

scan code ที่เกิดจากการกดปุ่ม keyboard ครั้งแรกมีตั้งแต่ 1 – 83 เรียกว่า “make” codes เมื่อผู้ใช้ปล่อยปุ่ม keyboard จะส่ง scan code ครั้งที่สอง เรียกว่า “break” code ด้วยการบวก 128 ไปที่ “make” code ซึ่งจะมีค่าตั้งแต่ 129 – 211 (กำหนดให้ bit 7 มีค่า 1) ในกรณีที่ผู้ใช้กดปุ่มแช่ไว้เกิน ½ วินาที keyboard จะส่ง “make” code ให้ใหม่ จำนวน 10 ครั้งต่อวินาที จนกว่าจะปล่อยจึงจะส่ง “break” code เมื่อ ROM-BIOS แปลงค่าแล้ว จะมีขนาด 2 bytes เก็บไว้ใน queue โดยที่ไบต์เลขที่ต่ำเรียกว่า main byte และ byte เลขที่สูง เรียกว่า auxiliary byte main byte จะเป็นรหัส ASCII 1-255 ส่วน auxiliary byte จะเก็บ scan code ยกเว้นการใส่ ASCII โดยตรงตามที่กล่าวในหมายเหตุ ในกรณีนี้ auxiliary byte จะเป็น 0

ในกรณีที่ main byte เป็น 0 แสดงว่ามีการกดปุ่มพิเศษ เช่น Function key, Home, End, Ctrl-, Alt เป็นต้น ในกรณีนี้ auxiliary byte จะเก็บค่าดังแสดงใน sheet ดู ROM BIOS keyboard Service, int 16h function 00, 01, 02 DOS keyboard Services, int 21h function 1, 7, 8, a, b, c