ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Introduction to Statics
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Equilibrium of a Particle
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
วัตถุมวล 10 kg วางอยู่บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน สถิตย์ 0.8 และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ kg µ s = 0.8 µ k = 0.3 จงเขียนโปรแกรมซึ่งรับค่าขนาดของ.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์ 1 เขียนแรงภายนอกที่กระทำต่อวัตถุ 2 พิจารณาว่าอยู่ในกฏข้อ 1 หรือ 2 ของนิวตัน ตั้งสมการตามกฏข้อนั้น ๆ 3 แก้สมการตามโจทย์ต้องการ

หลักการเขียนแรงภายนอกกระทำวัตถุ 1 น้ำหนัก ต้องมีเสมอ ทิศดิ่งลงพื้นเสมอ 2 ถ้าพิจารณาเห็นว่า วัตถุกดพื้น จะมีแรง N จากพื้น กระทำตั้งฉากต่อวัตถุ 3 ถ้าพื้นฝืด จะมีแรงเสียดทานสถิตย์หรือแรงเสียดทานจลน์ ทิศตรงข้ามการเคลื่อนที่

หลักการเขียนแรงกระทำวัตถุ( ต่อ ) 4 ถ้ามีเชือก และเชือกตึง จะมีแรงตึงเชือก (T) ทิศดึงออกจากวัตถุเสมอ 5 แรงกระทำต่อวัตถุตามโจทย์กำหนด มีทิศตามโจทย์กำหนด 6 แรงเนื่องจากสปริง ถ้ามีสปริง

วัตถุมวล m วางบนพื้นราบมีความฝืด

m วัตถุมวล m วางบนพื้นราบไม่มีความฝืด คู่ คู่ แรงวัตถุกดพื้น แรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา m คู่ คู่ แรงโลกดึงวัตถุ แรงพื้นดันวัตถุ แรงวัตถุดึงโลก

จะเขียนเพียงแรงภายนอกกระทำต่อวัตถุ m

ตัวอย่างที่ 1 F M=2kg วัตถุวางบนพื้นมีความฝืด เมื่อถูกดึงด้วยแรง F=10N วัตถุพอดีเคลื่อนที่ ( แต่ไม่เคลื่อนที่ ) จงหา สปส เสียดทานสถิตย์

วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน เฉลยตัวอย่างที่ 1 F=10N M=2kg วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน

คิดเอง

ตัวอย่างที่ 2 F M=2kg วัตถุวางบนพื้นมีความฝืด เมื่อถูกดึงด้วยแรง F=5N วัตถเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ จงหา สปส เสียดทานจลน์

วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน เฉลยตัวอย่างที่ 2 F=5N M=2kg วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน

คิดเอง

ตัวอย่างที่ 3 F 2kg วัตถุวางบนพื้นมีความฝืด เมื่อถูกดึงด้วยแรง F วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง จงหาขนาดของแรง F

เฉลยตัวอย่างที่ 3 วัตถุอยู่ในกฎข้อ 2 นิวตัน F M=2kg

ตัวอย่างที่ 4 F=10N 2kg 30 วัตถุวางบนพื้นมีความฝืด ถูกดึงด้วยแรง F ทำให้วัตถุพอดีขยับไปทางขวา(แต่ยังนิ่ง) จงหา สปส เสียดทานสถิตย์

วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน เฉลยตัวอย่างที่ 4 F=10N M=2kg 30 วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน

คิดเอง

ตัวอย่างที่ 5 F=4N M=2kg 30 วัตถุวางบนพื้นมีความฝืด ถูกดึงด้วยแรง F ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็วคงที่ จงหา สปส เสียดทานจนล์ ให้นิสิตทำเอง

ตัวอย่างที่ 6 F 2kg 30 วัตถุวางบนพื้นมีความฝืด ถูกดึงด้วยแรง F ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปทางขวา ด้วยความเร่ง จงหาขนาดของแรง F ให้นิสิตทำเอง

ตัวอย่างที่ 7 2 kg วัตถุวางนิ่ง(เกือบเลื่อนลง)อยู่ได้บนพื้นเอียงที่มีความฝืด จงหา สปส เสียดทานสถิตย์

วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน เฉลยตัวอย่าง 7 วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน 2 kg

คิดต่อเอง

ตัวอย่างที่ 8 ให้นิสิตทำเอง 2 kg วัตถุกำลังเคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงที่มีความฝืด ด้วยความเร็วคงที่ จงหา สปส จลน์

ตัวอย่างที่ 9 10 kg วัตถุกำลังเคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงที่มีความฝืด จงหาว่าวัตถุจะเลื่อนลงด้วยความเร่งคงที่เท่าไร

วัตถุอยู่ในกฎข้อ 2 นิวตัน เฉลยตัวอย่างที่ 9 วัตถุอยู่ในกฎข้อ 2 นิวตัน 10 kg

ตัวอย่างที่ 10 F=60N 2 kg วัตถุกำลังเคลื่อนที่ขึ้นตามพื้นเอียงที่มีความฝืด ด้วยความเร็งคงที่ จงหา สปส เสียดทานจลน์

วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน เฉลยตัวอย่างที่ 10 วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน F=30N 2 kg

คิดเอง

ตัวอย่างที่ 11 4 kg F=60N วัตถุกำลังเคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงที่มีความฝืด ด้วย ความเร็วคงที่ จงหา สปส เสียดทานจลน์

เฉลยตัวอย่างที่ 11 กฎข้อ 1 4 kg F=10N

คิดเอง

พื้นไม่มีความฝืด และ มากกว่า จงหาว่าวัตถุเคลื่อนที่อย่างไร ตัวอย่างที่ 12 4 kg 2 kg 1 kg พื้นไม่มีความฝืด และ มากกว่า จงหาว่าวัตถุเคลื่อนที่อย่างไร m2 m1

วัตถุอยู่ในกฎข้อ 2 นิวตัน เฉลยตัวอย่างที่ 12 a วัตถุอยู่ในกฎข้อ 2 นิวตัน 4 kg a 2 kg 1 kg a มวล 1 กก มวล 4 กก มวล 2 กก

(1)+(2)+(3)

ทำเองนะจ๊ะ พื้นมีความฝืดและวัตถุพอดีขยับ จงหา สปส เสียดทานสถิตย์ ตัวอย่างที่ 13 ทำเองนะจ๊ะ 6 kg 4 kg 2 kg พื้นมีความฝืดและวัตถุพอดีขยับ จงหา สปส เสียดทานสถิตย์

วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน เฉลยตัวอย่างที่ 13 วัตถุอยู่ในกฎข้อ 1 นิวตัน 6 kg 4 kg 2 kg มวล 2 กก มวล 6 กก คิดต่อเอง มวล 4 กก

ตัวอย่างที่ 14 ทำเองนะจ๊ะ 6 kg 3 kg 1 kg พื้นมีความฝืด และวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 2 m/s2 จงหา สปส ความเสียดทานจลน์

วัตถุอยู่ในกฎข้อ 2 นิวตัน เฉลยตัวอย่างที่ 14 a วัตถุอยู่ในกฎข้อ 2 นิวตัน 6 kg a 3 kg 1 kg a มวล 1 กก มวล 6 กก คิดต่อเอง มวล 3 กก

ถ้าทุกผิวสัมผัสไม่มีความฝืด ถ้า F=20N วัตถุจะเคลื่อนที่อย่างไร ตัวอย่างที่ 15 2 kg F 4 kg ถ้าทุกผิวสัมผัสไม่มีความฝืด ถ้า F=20N วัตถุจะเคลื่อนที่อย่างไร

เฉลยตัวอย่าง 15 a 2 kg a F=20N 4 kg

วัตถุพอดีขยับเคลื่อนที่ ตัวอย่างที่ 16 วัตถุพอดีขยับเคลื่อนที่ 2 kg F=40N 4 kg ผิวสัมผัสระหว่าง 2 กก และ 4 กก มี ส.ป.ส. สถิตย์เท่าใด ผิวสัมผัสระหว่างพื้น และ 4 กก มี ส.ป.ส. สถิตย์เท่าใด

2 kg F=40N 4 kg