Chapter 10: Hypothesis Testing: Application

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
บทที่ 7 แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
Chapter 6: Sampling Distributions
Chapter 7: Point Estimation
Chapter 8: Interval Estimation
Chapter 9: Hypothesis Testing : Theory
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
Probability & Statistics
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
(Sensitivity Analysis)
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
Functions and Their Graphs
การคำนวณทางสถิติ (Statistics worksheet)
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
การเขียนรายงานการวิจัย
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
วิจัย (Research) คือ อะไร
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
Uncertainty of Measurement
Lot By Lot Acceptance Sampling
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
Basic Statistical Tools
การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับ (Multilevel Analysis) ด้วยโปรแกรม HLM
E D E,C 1 D E,C 1,C 2,C 3 D ตัวแปรต้น ตัวแปร ตาม ตัวแปรอิสระ แทนด้วย X X 1, X 2,... X k D ตัวอย่าง : X 1 = E X 4 = E*C 1 X 2 = C 1 X 5 = C 1 *C 2 X 3 =
การทดสอบสมมุติฐาน Hypothesis Testing.
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
การทดสอบสมมติฐาน.
บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
การวิเคราะห์การถดถอย และสหสัมพันธ์อย่างง่าย
บทที่ 5 หลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
Probability and Statistics for Computing
อ.ดร. วรพล ยะมะกะ ภาคการเรียนที่ 2/2561
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
Training for SPSS BY Assist. Prof. Benchamat Laksaniyanon, Phd
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 10: Hypothesis Testing: Application

10.1 Overview of Test Procedure พิจารณา H0 เป็น Simple hypo ส่วนใหญ่จะใช้ H1 ใน 2 รูปแบบ 1. One-sided Alternative --> One-tailed Test --> กำหนด Critical Region ในรูป: --> 2. Two-sided Alternative --> Two-tailed Test

Test Procedure A 1. กำหนด 2. เลือก Test statistic และคำนวณ Critical Region of size 3. คำนวณค่าของ Test statistic จากข้อมูล sample 4. สรุปผลการทดสอบ --> Reject H0 เมื่อค่า Test stat อยู่ใน Critical Region --> Accept H0 เมื่อค่า Test stat อยู่ใน Acceptance Region

Test Procedure B 1. กำหนด 2. เลือก Test statistic 3. คำนวณค่า Test statistic และค่า P-value (P-value = ค่า Level of significance ต่ำที่สุดที่เราจะสามารถ Reject H0 ได้) 4. สรุปผลการทดสอบ --> Reject H0 ถ้าค่า ที่ต้องการ --> Accept H0 ถ้าค่า ที่ต้องการ

10.2 Test of Means Test Procedure ที่มีให้คำตอบค่อนข้างชัดเจนอยู่แล้ว มีประเด็นเดียวที่ต้องพิจารณาเพิ่มเติม การเลือก Test Statistic - ในเชิงทฤษฎี: เลือก Test stat จาก Likelihood Ratio Test - ในทางปฏิบัติ: Test stat จาก Likelihood Ratio Test จะตรงกับ Pivotal statistic (เพียงแต่เปลี่ยนจาก ของ H0 เท่านั้น)

10.2 Test of Means กรณี X ~ Normal หรือ n-large และ --> จาก Likelihood Ratio Test ควรเลือก Test statistic เป็น กรณี n-large แต่ --> เลือก Test stat เป็น กรณี X ~ N, n-small และ

10.3 Test of Difference b/w Means กรณี X1, X2 ~ N หรือ n1, n2 large และ --> เลือกใช้ กรณี n1, n2 large แต่ --> ใช้ S2 แทน ในสูตรบน กรณี X1, X2 ~ N แต่ n1, n2 small และ

10.5 Test of Ratio of Two Variances 10.4 Test of Variances Assume X ~ Normal เสมอ --> Test Stat ที่เหมาะสม (จาก Likelihood Ratio Test) จะเป็น 10.5 Test of Ratio of Two Variances Assume X1, X2 ~ Normal --> เลือก Test Stat เป็น

Chapter 11: Linear Regression Analysis

11.1 Introduction Regression Analysis = การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ เพื่อที่จะนำมาใช้ในการทำนายค่าตัวแปรที่เราสนใจ จากค่าตัวแปรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง Dependent var = Explained var = Endogenous var Independent var = Explanatory var = Exogenous var Simple Regression vs Multiple Regression รูปแบบความสัมพันธ์ที่ง่ายที่สุด Linear Regression Model:

Assumptions of Linear Regression Analysis 1. ค่าเฉลี่ยของ 2. Variance ของ มีค่าคงที่ (Homoscedasticity) 3. ไม่ correlated ต่อกัน: (No Autocorrelation) 4. xi กับ ไม่ correlated ต่อกัน: 5. มีการแจกแจงแบบปกติ

NOTE 1. เป็น Normal Yi เป็น Normal 3. ในกรณีไม่รู้ค่า parameters เราสามารถหาค่า estimate ของ parameters จากข้อมูล Sample: 3 วิธี - Method of Least Squares - Maximum Likelihood Method - Method of Moments