Chapter VI : การบันทึกข้อมูลผ่านเว็บเพจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 4 PHP with Database
Advertisements

Lecture 10 : Database Documentation
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
Functional programming part II
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
การสร้างแบบฟอร์ม <form>
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
PHP LANGUAGE.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
ASP [# 9] การติดต่อข้อมูล Text Files
การส่งค่าและการเก็บค่า (ต่อ... )
SCC : Suthida Chaichomchuen
การเชื่อมต่อฐานข้อมูลด้วย PHP
– Web Programming and Web Database
จากไฟล์ save_db.php.
โปรแกรม Microsoft Access
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การสร้างช่องรับข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
1 Javascript with Form. 2 Javascript - Get data from form post method formname.field.value get method formname.getElementById(“field")
คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบ เดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูล.
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
Introduction to C Language
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
การรับข้อมูลในภาษา php
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
Chapter V : แสดงรายการจากฐานข้อมูล
1. 2  ในการใช้งานเว็บไซต์ โดยปกติเราจะไม่สามารถ ใช้งานตัวแปรที่มีลักษณะ Global ที่สามารถ นำไปใช้ได้กับเว็บเพจหน้าอื่นๆ ปกติในการใช้ งานค่าต่างๆ ของเว็บเพจ.
HTML, PHP.
การใช้งาน ASP.NET 3.5 ด้านฐานข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
Microsoft Word MailMerge
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
โปรแกรม Microsoft Access
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
PHP for Web Programming
ฟังก์ชัน.
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลMySQL
CHAPTER 12 FORM.
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
Chapter 10 Session & Cookie.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
การสร้างฐานข้อมูลโดยการใช้ phpMyAdmin
การเปิด อีเมล์รับข้อมูลของ mail.ess.ac.th. 1. เปิดโปรแกรมท่องเน็ต ( เช่น IE, firefox,Chrome) แล้วพิมพ์ mail.ess.ac.th ในช่อง address และกดแป้น enter.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
PHP with MySQL.
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
PHP เบื้องต้น.
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการ สมัครเมลล์ * สิ่งที่ต้องจำ ห้าม ลืม 1.ID หรือชื่อผู้ใช้ 2. รหัสผ่าน 3. คำตอบที่ท่านตอบ คำถามที่เลือก.
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
PHP Html Form && Query string
Form.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter VI : การบันทึกข้อมูลผ่านเว็บเพจ

Over view Insert form data insert.php query database

นอกจากการใช้ phpMyadmin ในการบันทึกข้อมูลในฐานข้อมูลแล้ว ยังสามารถ ประยุกต์ใช้คำสั่งของ php ช่วยในการบันทึกข้อมูลตัวอักขระ หรือ แม้กระทั่งข้อมูลภาพ ได้อีกด้วย เพื่อความเข้าใจขั้นต้น ในตัวอย่างต่อไปนี้ จะเป็นการบันทึกข้อมูลในลักษณะพื้นฐานก่อน (ยังไม่จัดการข้อมูลภาพ) สร้างฟอร์มบันทึกข้อมูล 1. ไฟล์ connect.php 2. หน้าเว็บเพจแสดงข้อมูล list.php 3. ตารางที่มีข้อมูล nisit ในฐานข้อมูล prg2x 4. ฟอร์มรับข้อมูล form_insert.php 5. หน้าเว็บเพจบันทึกข้อมูลสู่ฐานข้อมูล insert.php

Step:1 สร้าง form_insert.php 1. ก่อนเริ่มสร้างฟอร์มรับข้อมูล พิจารณาตาราง nisit ก่อนในเบื้องต้นว่ามีการเก็บข้อมูลอะไร และ ข้อมูลที่จำเป็นต้องป้อน ได้แก่ฟิลด์ไหนบ้าง 2. ฟิลด์ aid มีคุณสมบัติเพิ่มข้อมูลตัวเลขอัตโนมัติ ดังนั้นหากมีการเพิ่มข้อมูลระเบียนใหม่ ไม่จำเป็นต้องป้อน ค่าสำหรับฟิลด์นี้

Step:2 3. ฟิลด์ x เป็นข้อมูลเกี่ยวกับเพศ กรณีของข้อมูลที่ต้องการคือ male แทน เพศชาย หรือ female แทน เพศหญิง และในการรับข้อมูลที่มีตัวเลือกในลักษณะนี้ สามารถใช้ radiobutton เพื่อเป็นตัวเลือกให้ง่ายต่อการป้อนข้อมูล จำเป็นต้องมี 4. ตั้งชื่อให้ radiobutton นี้เป็น fx (ทั้ง 2 ออปเจ็ค) โดยมี value ต่างกันคือ female และ male ในเบื้องต้นควรกำหนดค่าเริ่มต้นไว้ให้เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ลืมให้ข้อมูลสำหรับส่วนนี้ โดยการกำหนด ให้มีสถานะเป็น checked ในเพศ male หรือ female ไว้ก่อน

Step:3 5. ฟิลด์ nid ใช้จัดเก็บข้อมูลรหัสนิสิต ตั้งชื่อออปเจ็คเป็น fnid ไม่ต้องกำหนด value จำเป็นต้องมี 6. ฟิลด์ fname สำหรับจัดเก็บ คำนำหน้าชื่อ ชื่อ และ นามสกุล ตั้งชื่อออปเจ็คเป็น ffname ไม่ต้องกำหนด value

Step:4 7. ฟิลด์ note สำหรับเก็บข้อความจากผู้ดูแลระบบ ซึ่งไม่จำเป็นต้องรับข้อมูลจากผู้ใช้ ไม่จำเป็นต้องป้อน 8. ฟิลด์ tel สำหรับเก็บข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ ตั้งชื่อสำหรับออปเจ็คนี้เป็น ftel จำเป็นต้องมี 9. ฟิลด์ mail สำหรับเก็บข้อมูลอีเมลล์ ตั้งชื่อสำหรับออปเจ็คนี้เป็น fmail

Step:5 10. ฟิลด์ pic สำหรับเก็บชื่อและนามสกุล(ชนิด) ของภาพ ตั้งชื่อออปเจ็คเป็น fpic จำเป็นต้องมี 11. สร้าง 2 button ที่มี type=“submit” และ type=“reset”

Step:6 12. เขียนแท็กฟอร์ม ครอบตารางนี้ โดยส่วนเปิดแท็ก มีคำสั่งคือ <form enctype=“multipart/form-data” method=“post” action=“insert.php”> * ส่วนของการกำหนด enctype ใช้เมื่อมีการส่งข้อมูลขนาดใหญ่ (ภาพ ไฟล์ เป็นต้น) * การส่งข้อมูลขนาดใหญ่ จะต้องใช้ method=“post” เท่านั้น

ตัวอย่างโค้ด form_insert.php

ตัวอย่างโค้ด form_insert.php (ต่อ)

Step:7 สร้าง insert.php 1. สร้างไฟล์ใหม่ 1 ไฟล์ และบันทึกชื่อ insert.php * ไฟล์นี้ต้องถูกบันทึกไว้ในโฟลเดอร์เดียวกันกับ ไฟล์ connect.php , form_insert.php และ list.php 2. เรียกขอการเชื่อมต่อ เซิฟเวอร์และฐานข้อมูล ด้วยคำสั่ง include (“connect.php”); 3. ทำการรับค่าทั้งหมด ที่ถูกส่งมาจากหน้า form_insert.php $px =$_POST[“fx”]; $pnid =$_POST[“fnid”]; $pfname =$_POST[“ffname”]; $ptel =$_POST[“ftel”]; $pmail =$_POST[“fmail”]; * ยังไม่ทำการรับตัวแปรภาพ เนื่องจากต้องใช้ชุดคำสั่งพิเศษ

Step:8 4. เขียนคำสั่งในการบันทึกสู่ฐานข้อมูล ตามลำดับฟิลด์ ด้วยคำสั่ง $q=mysql_query(“insert into nisit values(‘ ’,’$px’,’$pnid’,’$pfname’,‘ ’, ’$ptel’,’$pmail’,’ ’)”); 5. ตรวจสอบตัวแปร $q ว่าประมวลผลได้หรือไม่ เพื่อเลือกทำต่อ มีรูปแบบดังนี้ if(!$q) { // สิ่งที่ให้ทำเมื่อ ไม่สามารถป้อนข้อมูลได้ } else { // สิ่งที่ให้ทำเมื่อ ป้อนข้อมูลได้ }

Step:9 ตัวอย่างโค้ดในส่วนของการเลือกทำ 6. กำหนดสิ่งที่ต้องทำเมื่อ ป้อนข้อมูลไม่ได้ จากโค้ดตัวอย่าง กำหนดให้ตัวแปร $msg เก็บข้อความ Fail to insert… แล้วประวิงเวลา 1 วินาที ก่อนจะกลับไปยังหน้า list.php พร้อมกับตัวแปรแฝง msg (ตัวแปรที่เก็บข้อความ) 7. สิ่งที่ต้องทำเมื่อ ป้อนข้อมูลสำเร็จ กำหนดให้ตัวแปร $msg เก็บข้อความ Record has been added ! แล้วประวิงเวลา 1 วินาที ก่อนจะกลับไปยังหน้า list.php พร้อมกับตัวแปรแฝง msg (ตัวแปรที่เก็บข้อความ)

Step:10 8. ปิดการเชื่อมต่อ สำหรับเพจ insert.php ด้วยคำสั่ง mysql_close($connect); 9. เปิดไฟล์ list.php เพื่อแก้ไขให้แสดงข้อความ จาก insert.php ที่มีการส่งตัวแปร msg แฝงมากับ url จากโค้ด “list.php?msg=$msg” ซึ่งเป็นลักษณะการส่งค่าแบบ GET 10. ทำการรับ และแสดงข้อความจากตัวแปร msg ในส่วนบนของตาราง ด้วยคำสั่ง echo $_GET[“msg”];

ตัวอย่างโค้ด insert.php