Cloning : การโคลน , โคลนนิง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Physiology of Crop Production
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
A wonderful of Bioluminescence
โครโมโซม.
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
การเจริญเติบโตของมนุษย์
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
ดูวัวให้ดูที่หาง ดูนางให้ดูที่แม่ แต่ถ้าจะให้แน่ต้องดูที่ยาย
อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
โครงการจัดทำนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การวิเคราะห์ DNA.
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางDNAและมุมมองทางสังคมและจริยธรรม
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
บริษัท อเบลเลซซา จำกัด
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Cloning : การโคลน , โคลนนิง หมายถึง กระบวนการสร้างสิ่งที่มีลักษณะทางพันธุกรรม เหมือนกันกับสิ่งที่มีอยู่ก่อน มนุษย์รู้จักโคลนนิ่งมาแต่สมัยโบราณแล้ว แต่เป็นการรู้จักโคลนนิ่ง ที่เกิดกับพืช นั่นคือ การขยายพันธุ์พืชโดย ไม่อาศัยเพศ เช่น การแตกหน่อ

ศ.เอียน วิลมุต ผู้สร้างตำนานการโคลนนิง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เกิดมาและมีชีวิตรอดอยู่ได้ จากเซลล์ที่ได้จากตัวอ่อนและตัวเต็มวัย Nature 1997 , 385: 810-3

"คอปปี แคท " (Copy Cat) หรือ ซีซี (CC) แมวตัวแรกของโลกที่โคลนขึ้นโดยทีมนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเท็กซัส เอแอนด์เอ็ม (Texas A&M University) ลูกแพะโคลนนิง (กลาง) กับแพะต้นแบบเพศผู้(ขวา) โดยมีแม่อุ้มบุญ (ซ้าย) ที่ไม่มีความข้องเกี่ยวทางพันธุกรรมยืนอยู่ข้างๆ โดย ดร.รังสรรค์ พาลพ่าย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.)

นักวิทย์สหรัฐโคลนตัวอ่อนมนุษย์ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ 22 มกราคม พ.ศ. 2551 นักวิทย์สหรัฐโคลนตัวอ่อนมนุษย์ บริษัทสเตมมาเจน ประกาศว่า ประสบความสำเร็จในการโคลนตัวอ่อนมนุษย์ เป็นครั้งแรกจากเซลล์ผิวหนังของผู้ใหญ่ โดยใช้เทคนิคเดียวกับการโคลนแกะดอลลี่ โดยการเจาะเซลล์ไข่สตรีที่ได้รับบริจาค และฉีดนิวเคลียสของเซลล์ผิวหนังผู้ชายลงไป ตัวอ่อนที่ได้จากโคลนนิ่ง แลดูแข็งแรง แม้จะไม่มีผู้ใดทราบว่า ตัวอ่อนที่ได้จากการโคลนนิ่งจะแข็งแรงพอจนสามารถเติบโตเป็นทารกต่อไปได้หรือไม่

ถ้าเทคนิคการโคลนนิง ในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ นิสิตจะคิดทำโคลนของตัวเองหรือไม่ เพราะเหตุใด

Stem Cell : เซลล์ต้นกำเนิด สามารถแบ่งตัวขึ้นมาใหม่ได้ตลอดเวลาในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เมื่อแบ่งตัวแล้ว ยังคงสภาพการเป็นเซลล์ที่ยังไม่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจง สามารถพัฒนาตัวเองไปเป็นเซลล์ที่เฉพาะเจาะจง เช่น เป็นเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว หรือเป็นเซลล์อื่นๆ ได้

Stem Cell นำมาจากไหนได้บ้าง สเต็มเซลล์จากตัวอ่อน : Embryonic stem cell Stem cell ตัวอ่อนในระยะบลาสโตซิสท์ (ไข่ผ่านการผสมกับสเปิร์มมาแล้วประมาณ4-5วัน)

- จากไขกระดูก - จากเลือดในสายรก 2. สเต็มเซลล์ร่างกาย (Adult stem cell หรือ Somatic stem cell หรือ Mature stem cell) - จากเลือด - จากไขกระดูก - จากเลือดในสายรก

กระบวนการสร้างตัวอ่อนลูกผสมโดยใช้เซลล์ไข่ของวัวที่ดึงเอาดีเอ็นเอออกไปแล้ว ก่อนฉีดดีเอ็นเอของมนุษย์เข้าไปแทน สถาบันคิงส์ คอลเลจ ลอนดอน และมหาวิทยาลัยนิวคาสเซิล ประเทศอังกฤษ ได้รับใบอนุญาตจากสำนักงานการเจริญพันธุ์มนุษย์และตัวอ่อนวิทยา (Human Fertilization and Embryology Authority: HFEA) ให้สามารถทำวิจัยสร้างตัวอ่อนลูกผสม (hybrid embryo) ระหว่างคนและสัตว์ได้เพื่องานวิจัยด้านเซลล์ต้นกำเนิดจากตัวอ่อนเมื่อวันที่ 17 ม.ค.51 โดยเบื้องต้นให้เวลาทำวิจัย 1 ปี

- รัฐบาลประเทศเยอรมนีประกาศสนับสนุนให้นักวิจัยในประเทศศึกษาวิจัย สเต็มเซลล์ได้แล้ว แต่เป็นสเต็มเซลล์ที่ไม่ได้มาจากตัวอ่อนจุดประสงค์ก็เพื่อที่จะสร้างสเต็มเซลล์จากผู้ใหญ่ขึ้นมาทดแทนสเต็มเซลล์จากตัวอ่อน - วันที่ 28 ม.ค.51 นายจอร์จ ดับเบิลยู. บุช ได้แถลง ต่อรัฐสภาเพื่อของบประมาณสนับสนุนการวิจัยสร้าง สเต็มเซลล์ไลน์ โดยวิธีที่ไม่ทำลายตัวอ่อนเพิ่มขึ้น ซึ่งวิธีการนี้จะนำเซลล์ผิวหนังของผู้ใหญ่มาใส่ยีนสำคัญที่ควบคุมความเป็นสเต็มเซลล์ตัวอ่อน และเพาะเลี้ยงจนได้เซลล์ที่มีลักษณะคล้ายกับสเต็มเซลล์ตัวอ่อนขึ้น

Genome คืออะไร Human Genome Project (HGP) : โครงการจีโนมมนุษย์ คือสารพันธุกรรมทั้งหมดที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างปกติของสิ่งมีชีวิต ซึ่งในกรณีของสิ่งมีชีวิตชั้นสูงจีโนมคือชุดของ DNA ทั้งหมดที่บรรจุอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ ("แบบพิมพ์เขียว" ของสิ่งมีชีวิต)

Human Genome Project (HGP)

The Human Genome Project : from Nature 2001 (15 Feb.)     โครงการจีโนมมนุษย์ได้รับการประกาศสิ้นสุดการศึกษาลำดับรหัสพันธุกรรมทั้งหมดของมนุษย์เมื่อกุมภาพันธ์ 2544 (ค.ศ. 2001) วารสาร Nature และ Science ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ The Human Genome Project : from Nature 2001 (15 Feb.) The Human Genome Project : from Science 2001 (16 Feb.)

ชีวจริยธรรม (Bioethics) - การโคลนนิ่ง - สเต็มเซลล์ - ข้อมูลพันธุกรรมมนุษย์

The New Macdonald Pharm