ศักยภาพของคนไทยในการผลิตและวิจัยวัคซีนใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
Advertisements

ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
Physiology of Crop Production
การบริหารงานวิจัยในลักษณะ กลุ่มงานวิจัย/ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
การพิจารณาเลือกชนิด วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นพ.พรศักดิ์ อยู่เจริญ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค.
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ศ. พิเศษ ภญ. ดร. สุมนา ขมวิลัย
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
ทิศทางในการดำเนินงานของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา การดำเนินงานวิจัย พัฒนาและบริการวิชาการด้าน ไวรัสวิทยา โดยมุ่งเน้นศึกษาไวรัสที่เป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุขของประเทศ.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
วัคซีน ( vaccine ) วัคซีนหมายถึง immunogen ที่เป็นอนุภาคหรือเซลล์ของเชื้อโรคซึ่งที่ทำให้ตายหรือมีความรุนแรงของโรคลดน้อยลงแล้วนำเข้าสู่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์เพื่อกระตุ้นให้สร้าง.
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
การตั้งค่าวัคซีน.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
มติที่เสนอและได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ ใน การประชุมครั้งที่ 1/2552 วันที่ 13 สิงหาคม 2552.
“การขยายโรงงานผลิตวัคซีนวัณโรค สู่มาตรฐานสากล”
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
โรคคอตีบ (Diphtheria)
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ความเป็นมาของโครงการนำร่องวัคซีน JE ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ SA
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
พ.ญ. ภาวินี ด้วงเงิน สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว Viral Vaccine Antiviral agents
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ระบาดวิทยา Epidemiology.
วัคซีนคอตีบและบาดทะยัก (dT)
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ ศลช.
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
Nipah virus.
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
องค์การเภสัชกรรม แนวทางการดำเนินงานด้านสาธารณสุขที่สำคัญ
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างเขตปลอดโรค พิษสุนัขบ้า.
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
Direction of EPI vaccine in AEC era
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การจัดการประชุมที่มีประสิทธิผล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศักยภาพของคนไทยในการผลิตและวิจัยวัคซีนใหม่ ปฐม สวรรค์ปัญญาเลิศ. พ.บ., DrPH กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

การกระตุ้นภูมิคุ้มกันในร่างกายเมื่อได้รับวัคซีน Humoral Immunity สร้างแอนติบอดี (Neutralizing Antibody) Cellular Immunity สร้าง DTH (Delayed type hypersensitivity) CTL (Cytotoxic T-lymphocyte) เช่น วัคซีนคอตีบ, ไอกรน, บาดทะยัก, โปลิโอ, ไวรัสตับอักเสบบี, ไข้สมองอักเสบ JE เช่น วัคซีน BCG

รูปแบบต่างๆ ของวัคซีน วัคซีนอาจอยู่ในรูปของ 1. โปรตีนหรือชิ้นส่วนเปปไทด์ของเชื้อ (Subunit Vaccines) เช่น วัคซีน ตับอักเสบบี (Hepatitis B) 2. วัคซีนเชื้อตาย (Inactivated Vaccines) เช่น วัคซีนไอกรน (Pertussis) ไข้สมองอักเสบ (Japanese Encephalitis) 3. วัคซีนที่ทำให้เชื้ออ่อนกำลัง (Live Attenuated Vaccines) เช่น หัด (Measles), หัดเยอรมัน (Rubella), คางทูม (Mumps), โปลิโอ, อีสุกอีใส (Varicella) 4. วัคซีนพาหะเชื้อเป็น (Live Vector Vaccines) อาจเป็นวัคซีนเชื้อเป็น เช่น วัคซีน BCG (ป้องกันวัณโรค) หรือเป็นพาหะเชื้อเป็นที่มีการตัดต่อ ยีนของสิ่งมีชีวิตอื่นเข้าไป 5. วัคซีน DNA (DNA Vaccines) เป็นวัคซีนในรูปของพาหะ DNA ที่มีการตัดต่อยีนของสิ่งมีชีวิตอื่นเข้าไป

History of Vaccination ศตวรรษที่ 16 : การป้องกันไข้ทรพิษเริ่มต้นในประเทศจีนและอินเดีย โดยใช้หนองฝีแห้งของผู้ป่วย ค.ศ. 1721 : Lady Mary Wortly Montagu เริ่มการป้องกันไข้ทรพิษ ในประเทศอังกฤษ ค.ศ. 1774 : Benjamin Jetsy (ประเทศอังกฤษ) เริ่มต้นการป้องกัน ไข้ทรพิษด้วย Cowpox ค.ศ. 1798 : Edward Jenner ภายหลังทำการทดลอง ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ วิธีการป้องกันไข้ทรพิษด้วยเชื้อโรค Cowpox ค.ศ. 1877-79 : Louis Pasteur ค้นพบวัคซีนอหิวาต์ไก่ (Chicken cholera) และ Anthrax ค.ศ. 1885 : Louis Pasteur ค้นพบวัคซีนโรคสุนัขบ้า

Vaccines can be categorized as ‘active’ and ‘passive’. Active vaccines: stimulate host’s immune response to produce specific antibodies or cellular immunities Passive vaccines: ready-made neutralizing antibodies are utilized around the time of pathogen exposure e.g. Hepatitis B Ig Varicella-zoster-virus Ig Snake venom Rabies Ig

Examples of present worldwide human vaccines Polio Measles Mumps Rubella Varicella-zoster-virus (VZV) Smallpox (Vaccinia virus) Influenza BCG Live Japanese encephalitis (JE) Rabies Hepatitis A Pertussis Killed or inactivated

Examples of present worldwide human vaccines (cont.) Protein-based Hepatitis B Diphtheria (Toxoid) Tetanus (Toxoid) Pertussis (Acellular) Human papilloma Diabetes Allergy Polysaccharide-based Haemophilus influenzae type b (Hib) Pneumococcal Meningococcal Peptide-based Malaria Anti-idiotype Cancer

Expanded Program on Immunization (EPI) Types of Vaccine Quantity / year 1. DTP 2. HB 3. BCG 4. OPV 5. MMR 6. JE Total 6.0 M. doses ( 55 MB/yr) 3.2 M. doses ( 136 MB/yr) 2.7 M. doses (17 MB/yr) 7.0 M. doses ( 44 MB/yr) 2.1 M. doses ( 104 MB/yr) 3.0 M. doses ( 152 MB/yr) 508 M. Baht/yr

ปริมาณการใช้วัคซีนเพิ่มเติมโดยภาครัฐและเอกชน (non-EPI) ชนิดวัคซีน จำนวน มูลค่า (ล้านโด้ส) (ล้านบาท) วัคซีนรวมคอตีบและบาดทะยัก 2.6 11.0 4.2 15.0 วัคซีนบาดทะยัก วัคซีนรวมหัด หัดเยอรมัน และคางทูม 0.4 40.0 วัคซีนโรคหัด 1.55 19.0 0.55 1.0 วัคซีนหัดเยอรมัน 340.0 วัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า 1.25 64.0 วัคซีนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ จากเชื้อ HiB 0.11 97.0 วัคซีนไข้หวัดใหญ่ 0.33 วัคซีนโรคอีสุกอีใส 0.15 15.0 รวม 10.6 602.0

ขั้นตอนการวิจัยหลักในการวิจัยและพัฒนาวัคซีน การวิจัยพื้นฐานในห้องปฏิบัติการ ศึกษาระบาดวิทยา (เฝ้าระวัง) ของโรคและเชื้อ ศึกษากลไกการเกิดโรค ศึกษากลไกการป้องกันโรค ศึกษาเชื้อ, รหัสพันธุกรรม (ยีน) และโครงสร้างของเชื้อ การสร้างวัคซีนทดลองโดยวิธีต่างๆ เช่น - การตัดต่อยีนเข้าสู่พาหะ - การสร้างโปรตีน - การเพาะเลี้ยงเชื้อ ฯลฯ ระยะ Pre-clinical การทดสอบวัคซีนในสัตว์ทดลอง - ศึกษาภูมิคุ้มกัน - ศึกษาความปลอดภัยของวัคซีน

การศึกษากระบวนการผลิตวัคซีน ผลิตวัคซีนทดลองในระดับกึ่งอุตสาหกรรม (Pilot Scale) ที่มีมาตรฐานความถูกต้องปลอดภัย ของกระบวนการผลิต (GMP) การทดสอบวัคซีนในคน ระยะที่ 1 (Phase I) ทดสอบความปลอดภัยของวัคซีน ระยะที่ 2 (Phase II) ทดสอบภูมิคุ้มกันและประสิทธิผล ระยะที่ 3 (Phase III) ทดสอบวัคซีนภาคสนาม (กลุ่มผู้ทดลอง > 1,000 ราย) ระยะ Clinical การผลิตวัคซีนระดับอุตสาหกรรมที่มีมาตรฐาน GMP * GMP = Good Manufacturing Practice

What kinds of knowledge are required in vaccine R&D? Molecular biology Recombinant DNA technology (Genetic engineering) Biotechnology Protein biochemistry Bioprocess Engineering Virology Bacteriology Immunology

Practical processes of R&D of biotechnoloyy products Lab Scale Preclinical Research I GLP (Good Laboratory Practices) Practical processes of R&D of biotechnoloyy products Slide 5 โดยทั่วไปแนวทางการดำเนินการวิจัยพัฒนาเพื่อผลิตชีวภัณพ์ทางการแพทย์ มีขั้นตอนหลักสำคัญ 5 ขั้นตอน ที่ต้องการดำเนินการอย่างต่อเนื่องดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 จากการวิจัยและพัฒนาในระดับห้อง lab จะนำสิ่งที่วิจัยได้ไปทำการทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยในสัตว์ ซึ่งการวิจัยนี้จะต้องได้มาตรฐานสากลที่เรียกว่า GLP (Good Laboratory Practices)

Practical processes of medical product R&D (cont.) GLP GMP Pilot Production I II Practical processes of medical product R&D (cont.) Slide 6 ขั้นตอนที่ 2 เมื่อชีวภัณฑ์นั้นได้ผลดีในสัตว์ทดลอง ก่อนที่จะไปสู่การวิจัยในคนต้องนำชีวภัณฑ์นั้นไปพัฒนาการผลิตในระดับกึ่งอุตสาหกรรมหรือ pilot scale ก่อน โดยการผลิตต้องได้มาตรฐาน GMP จึงจะเป็นที่ยอมรับให้นำไปทำการวิจัยในคนได้

Practical processes of medical product R&D (cont.) IND (Investigational New Drug) GCP Clinical Trials GMP Pilot Production II III Practical processes of medical product R&D (cont.) Slide 7 ขั้นตอนที่ 3 การวิจัยในคน ซึ่งก่อนดำเนินการวิจัยชีวภัณฑ์ นั้นต้องผ่านการขึ้นทะเบียนเพื่อทำการวิจัยในคน (IND)

Practical processes of medical product R&D (cont.) III Industrial Manufacturing IV NDA New Drug Approval Practical processes of medical product R&D (cont.) Clinical Trials Slide 8 ขั้นตอนที่ 4 เมื่อพบว่ายาหรือวัคซีนนั้นมีประสิทธิภาพ, ประสิทธิผลดีในคน จึงจะนำไปผลิตในระดับอุตสาหกรรม

Principle of Vaccine Production Production of Bulks Strain Selection Multiplication Inactivation of Viruses Purification and Concentration of Viruses Storage of Bulk Vaccine Filling and Packaging Formulation and Blending Sterile Filtration Sterile Filling Freeze Drying Visual Inspection & QC Label/Packaging Storage of Finished Vaccine

Industrial Production of Influenza Vaccine Egg production (poultry) Egg preparation and incubation (hatchery) Inocuation and viral incubation Harvesting, clarification and concentration Purification Splitting and inactivation Blending, filling and packaging

Medical Biotechnology Center Department of Medical Sciences Slide 1 โครงการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Establishment of Medical Biotechnology Center) เป็นโครงการร่วมมือระหว่างกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กับ มหาวิทยาลัยมหิดล Medical Biotechnology Center Department of Medical Sciences

Thank you