การตรวจสอบพันธุ์ใบยากับการจัดเก็บภาษีของกรมสรรพสามิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
เครื่องรับโทรทัศน์ระบบดิจิตอลทีวี
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
เอกสารเคมี Chemistry Literature
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
การถนอมอาหาร.
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
การขนส่งผักและผลไม้.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ”
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
แผนปฏิบัติการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด พื้นที่ X-RAY ประจำปีงบประมาณ 2556 งาน / โครงการ / กิจกรรม จำนว น ช่าง สำรว จ จำนว น กล้อ ง ( เครื่ อง ) เพิ่ม.
แนวทางการประชุมกลุ่ม
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การปลูกพืชกลับหัว.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จังหวัดพะเยา นางสาววชิรา สร้อยสน รหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
Next.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
(B2E Rice Bran Oil and Germ)
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ดินถล่ม.
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
เริ่ม ออก.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 7) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2555.
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบพันธุ์ใบยากับการจัดเก็บภาษีของกรมสรรพสามิต โดย ส่วนตรวจสอบป้องกันและปราบปราม

ประเภทของยาสูบ (Type of Tobacco) ยาสูบที่ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตบุหรี่ของโรงงานยาสูบ สามารถแบ่งออกเป็น ประเภทใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภทคือ ยาสูบประเภทบ่มไอร้อน (Flue – Cured Tobacco) ได้แก่ ยาสูบเวอร์ยิเนีย ยาสูบประเภทบ่มอากาศ (Air –Cured Tobacco) ได้แก่ ยาสูบเบอร์เลย์ ยาสูบประเภทบ่มแดด (Sun – Cured Tobacco) ได้แก่ ยาสูบเตอร์กิช

ใบยาเวอร์ยิเนีย ลักษณะใบยาเวอร์ยิเนีย พื้นที่เพาะปลูกใบยาเวอร์ยิเนีย - ใบจะมีสีเขียวเข้ม - ใบใหญ่ - ลักษณะใบโน้มลง พื้นที่เพาะปลูกใบยาเวอร์ยิเนีย - ปลูกมากทางภาคเหนือ - ภาคอีสาน ปลูกที่หนองคาย, นครพนม, บึงกาฬ - ภาคใต้ ปลูกมากที่ ปัตตานี, ยะลา, นราธิวาส ลักษณะของต้นยาสูบ ลักษณะใบ

พันธ์ที่นิยมปลูก การเก็บใบยา -Coker 206 - ต้นยาสูบอายุประมาณ 70 วัน หลังปลูก พร้อมที่จะเก็บใบยาครั้งแรก - ต้นยาสูบ เวอร์ยิเนีย มีอายุประมาณ 110-120 วัน เก็บใบยาได้ประมาณ 5-7 ครั้ง/ต้น - การเก็บใบยา จะเก็บจากใบล่างสุด ขึ้นไปหาตรงส่วนยอด

การบ่มใบยาสูบเวอร์ยิเนีย - การบ่มใบยาสูบเวอร์ยิเนีย ใช้วิธีการบ่มด้วยไอร้อน - มีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงบ่มตลอดเวลา - ใบยาแห้งจะมีสีเหลือง หรือสีส้มสดใส มีความหอม - ใช้ระยะเวลาในการบ่มประมาณ 110-120 ชั่วโมง ประมาณ 5 วัน

ใบยาเวอร์ยิเนียที่นำไปใช้ในอุตสาหกรรมยาสูบ - เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของยาเส้นในบุหรี่ (45-75%)

ใบยาเบอร์เลย์ ลักษณะใบยาเบอร์เลย์ พื้นที่เพาะปลูกใบยาเบอร์เลย์ - จะมีสีเขียวอ่อน - ลักษณะใบจะตั้ง พื้นที่เพาะปลูกใบยาเบอร์เลย์ - ภาคเหนือ - ภาคอีสาน หนองคาย, นครพนม

พันธุ์ที่นิยมปลูก การเก็บใบยา - พันธุ์ TN 90 ให้ผลผลิตดี มีความต้านทางสูง ต่อโรคใบด่าง - พันธุ์ KY 14 เป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตต่อไร่สูง มีความต้านทานโรค รากเน่า โรคใบยาด่าง การเก็บใบยา - เก็บใบยาครั้งแรก เมื่อต้นยาสูบ อายุ 60-70 วัน - ทยอยเก็บใบยาที่สุก ครั้งละ 2.-3 ใบ - เก็บใบยาทั้งหมดประมาณ 5-8 ครั้ง (20-24 ใบ/ต้น)

การบ่มใบยาสูบเบอร์เลย์ - บ่มด้วยอากาศ เป็นให้ใบยาสดกลายเป็นใบยาแห้ง ภายใต้สภาพบรรยากาศตามธรรมชาติ - ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการบ่มใบยาเบอร์เลย์ อุณภูมิ, ความชื้นสัมพันธ์, การไหลเวียนของอากาศ

การนำยาสูบเบอร์เลย์ไปใช้ในอุตสาหกรรมยาสูบ - ใช้ในการผลิตบุหรี่อเมริกัน ให้ใช้ใบยาเบอร์เลย์ (15-45%)

ใบยาเตอร์กิช ลักษณะใบยาเตอร์กิช พื้นที่เพาะปลูกใบยาเตอร์กิช -ใบมีขนาดเล็ก พื้นที่เพาะปลูกใบยาเตอร์กิช - ปลูกมากทางภาคอีสาน ร้อยเอ็ด สารคาม, สกลนคร, นครพนม -พื้นที่ปลูกยาสูบเตอร์กิชที่มีคุณภาพดีที่สุดในโลก คือ จังหวัดร้อยเอ็ด การขยายพันธ์ - ขยายพันธ์ด้วยเมล็ด

พันธ์ที่นิยมปลูก การเก็บใบยาเตอร์กิช - คือพันธ์ Samsun เนื่องจากมีรสจัดและมีกลิ่นหอมแรง สามารถใช้เป็นตัวนำรสชาติได้ดีและยังช่วยเสริมความหอมในการปรุงบุหรี่รสอเมริกัน การเก็บใบยาเตอร์กิช - เก็บใบยาสดครั้งแรก เมื่อต้นยาสูบอายุ 50-60 วัน - เก็บใบยาสดที่สุก ครั้งละ 2-4 ใบ - ระยะเวลาในการเก็บแต่ละครั้งห่างกัน 5-7 วัน - เก็บยาสดทั้งหมด ประมาณ 5-8 ครั้ง (20-24ใบ/ต้น)

การบ่มใบยาสูบเตอร์กิช - บ่มด้วยแดด - ควบคุมให้ใบยาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองหรือสีส้มในที่ร่มก่อน แล้วจึงนำออกตากแดด เพื่อให้ใบยาแห้งมีสีเหลือง, สีส้ม, มีความหอม - ใช้ระยะเวลาในการบ่ม 15-20 วัน - นำใบยาที่แห้งแล้ว แขวนเป็นพวงไว้ในที่ร่มเพื่อให้ก้านแห้งสนิท ระยะเวลา 10-15 วัน

การรับซื้อใบยา ในการรับซื้อใบยาจะประกอบด้วย ประธาน 1 คน และกรรมการร่วมอีก 2 คน

ชั้นใบยา (Grades) เป็นหน่วยย่อยของยาสูบในแต่ละประเภท (Type) โดยแบ่งออกตามหมู่, คุณภาพ และสี ใช้สัญลักษณ์ 3 ตัวสำหรับ ใบยาเวอร์ยิเนียและเบอร์เลย์ และ 2 ตัวสำหรับใบยาเตอร์กิช เช่น ใบยาเวอร์ยิเนีย ชั้น B3F : ใบยาบน, คุณภาพที่ 3 สีส้ม ใบยาเบอร์เลย์ ชั้น C1L : ใบยากลาง, คุณภาพที่ 1 สีเนื้อ ใบยาเตอร์กิช ชั้น A2 : ใบยาถัดยอด, คุณภาพที่ 2 สีเหลืองหรือส้ม

ชั้นใบยาเวอร์ยิเนียไทย (Thai Virginia Tobacco Grades) หมู่ (Group) ตัวอย่างชั้น (Grades) ใบยาบน (B) B1F ใบยากลาง (C) C3L ใบยาล่าง (X) X4V มีทั้งหมด 67ชั้น คุณภาพ : ดีเลิศ (1) - ดีมาก (2) - ดี (3) - พอใช้ (4) - ต่ำ (5) สี : เหลือง (L) - ส้ม (F) - ติดเขียว (V) - สลิค (S) - เพี้ยน (K) - เขียว (G)

องค์ประกอบ ของคุณภาพ ระดับต่ำ - สูง ความแก่ ไม่แก่ ไม่สุก แก่ สุก โครงสร้างของใบ ทึบมาก ทึบ แน่น โปร่ง เนื้อ หนามาก หนา ปานกลาง บาง น้ำมัน มีน้ำมันน้อย มีน้ำมันปานกลาง มีน้ำมันมาก ความเข้มของสี ซีด อ่อน เข้ม ความกว้าง แคบ (3 – 5 นิ้ว) ปกติ (5 – 8 นิ้ว) กว้าง (8 นิ้วขึ้นไป) ความยาว วัดเป็นนิ้ว ความสม่ำเสมอ วัดเป็นร้อยละ ตำหนิที่ยอมให้ ส่วนเสียที่ยอมให้

ชั้นใบยาเบอร์เลย์ไทย (Thai Burley Tobacco Grades) หมู่ (Group) ตัวอย่างชั้น (Grades) ใบยายอด (T) T3F ใบยาบน (B) B4D ใบยากลาง (C) C2F ใบยาล่าง (X) X1L มีทั้งหมด 43 ชั้น คุณภาพ : ดีเลิศ (1) - ดีมาก (2) - ดี (3) - พอใช้ (4) - ต่ำ (5) สี : เนื้อ (L) - น้ำตาล (F) - น้ำตาลแก่ (D) - คละ (K) - เขียว (G)

องค์ประกอบคุณภาพใบยาเบอร์เลย์ไทย เนื้อ ความแก่ โครงสร้างของใบยา ผิวหน้าของใบยา ความเปล่งปลั่ง ความเข้มของสี ความกว้าง ความยาว ความสม่ำเสมอ ตำหนิที่ยอมให้

ตัวอย่างชั้น (Grades) ชั้นใบยาเตอร์กิชไทย(Thai Turkish Tobacco Grades) ตัวอย่างชั้น (Grades) คุณภาพ ตำแหน่งบนลำต้น 1 ใบยายอด (1) A1 2 ใบยาถัดยอด (2) B2 ใบยากลาง (3) 3 A3 ใบยาล่าง (4) 4 B4 มีทั้งหมด 11 ชั้น สี : เหลืองหรือส้ม (A) , น้ำตาลอ่อนอมเหลืองหรือส้ม (B) น้ำตาลอ่อนหรือ น้ำตาลแก่ (K) ,เขียวหมองคล้ำ,เทาหม่น (D)

องค์ประกอบคุณภาพใบยาเตอร์กิชไทย เนื้อ ความยืดหยุ่น น้ำมัน กลิ่น ความกว้าง ความยาว สีอื่นที่ยอมให้ปนได้

Factory grade ใบยาเตอร์กิช AG/ZO/RE - AG/ZO/RE-R ประกอบด้วย A1, A2 B1, B2 AG/ZO/RO - AG/ZO/RO-R ประกอบด้วย A3, A4 B3, B4 KP/ZO/RE - KP/ZO/RE-R ประกอบด้วย K1,K2 D

ราคาใบยาเตอร์กิช ฤดู 2555/56 ชั้นใบยา ต้นฤดู ปลายฤดู A1 75 A2 72 A3 68 A4 59 B1 B2 69 B3 64 B4 56 K1 50 K2 48 D 40 หมายเหตุ : ราคาใบยาไม่รวมเงินสนับสนุนปัจจัยการผลิต 4 บาท/กก.

ตามประกาศกรมสรรพสามิต เรื่องกำหนดให้ผู้ปลูกต้นยาสูบใช้พันธ์ยาสูบ ลงวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2509 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมล่าสุด ฉบับที่ 21 (2555) พันธุ์เตอร์กิช ร้อยเอ็ด 90 % ขอนแก่น นครพนม หนองคาย ฯลฯ พันธุ์พื้นเมือง พันธุ์เวอร์ยิเนีย เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง - พะเยา ลำพูน - แพร่ - น่าน แม่ฮ่องสอน นครพนม หนองคาย พันธุ์เบอร์เล่ย์ สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ ลำพูน - แพร่ นครพนม หนองคาย พื้นที่เพาะปลูก ใบยา 3 พันธุ์ และพันธุ์พื้นเมือง หมายเหตุ หนองคาย นครพนม และบึงกาฬ ปลูกได้ครบ 4 สายพันธุ์

The End