ตัวเก็บประจุ ( capacitor )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
Bipolar Junction Transistor
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
8. ไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
ลำโพง (Loud Speaker).
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
หม้อแปลง.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
Electronic Circuits Design
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวเก็บประจุ ( capacitor )

ตัวเก็บประจุ ( capacitor ) ตัวเก็บประจุจะประกอบไปด้วย แผ่นโลหะตัวนำ 2 แผ่น วางห่างกัน โดยมี สารไดอิเล็กทริกกั้นอยู่ ระหว่างแผ่นตัวนำทั้ง 2 ตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่สามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้ มีการนำไปใช้ในวงจรแรงดัน วงจรกรองความถี่ ใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณ (coupling)

ตัวเก็บประจุกับคุณสมบัติทางไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้าจึงไม่สามารถตกคร่อมคาปาซิเตอร์ได้ในทันทีทันใด หากแต่ต้องใช้เวลาให้มันค่อยๆเปลี่ยน แปลงประจุไฟฟ้า ตัวอย่าง เมื่อป้อน 6 v คาปาซิเตอร์จะค่อยๆ ชาร์จประจุจาก 0 – 6 โวลต์ เมื่อแรงเคลื่อนถึงจุดสูงสุดแล้ว กระแสไฟฟ้าจะไม่สามารถไหลเข้าไป คาปาซิเตอร์ได้อีกต่อไป หน่วยความจุ (unit of capacitance) มีหน่วยเป็นฟารัด (Farad) มาจากการรับกระแสไฟฟ้า 1 แอมป์ในเวลา 1 วินาที แล้วทำให้เกิดความต่างศักย์ทางไฟฟ้า ระหว่าง อิเล็กโทรด และมีประจุคงอยู่เท่ากับ 1 คูลอมบ์

การเลือกใช้งานตัวเก็บประจุต่างๆ เนื่องจากตัวเก็บประจุมีหลายชนิด การเลือกใช้ตัวเก็บประจุผิดประเภทของงานอาจทำให้วงจรเกิดความไม่สมบูรณ์ขึ้นได้ บางครั้งอาจเกิดการระเบิดจนทำลายวงจรก็มี โดยเฉพาะ ตัวเก็บประจุตัวโตๆ ที่ทนแรงดันสูงๆผู้ใช้ต้องระมัดระวังอย่าต่อผิดขั้ว หรือให้แรงดันเกินพิกัดเด็ดขาด

ชนิดของตัวเก็บประจุ 1.อิเล็กโทรไลต์ -ใช้ในวงจรกรองแรงดันไฟตรงที่ได้จากการ rectify -ใช้ในการ coupling สัญญาณ

2.แทนทาลัม -ใช้ในงานที่ต้องการความแม่นยำของความถูกต้องสูง 3.เซรามิกส์ - ใช้ในวงจรเรโซแนนซ์ - ใช้ในวงจรความถี่สูง

4.โพลีเอสเตอร์ -ใช้งานได้ทั่วๆไป - มีค่าให้เลือกใช้มากมาย 5. โพลีสไตรีน -ใช้ในวงจรจูนหรือออสซิลเลเตอร์ -ใช้ในวงจรที่มีแรงดันสูง

6.โพลีโพรไพลีน - อินเวอร์เตอร์กำลังสูงๆ - converter

ค่า capacitance ค่า capacitance ของคาปาซิเตอร์หนึ่งฟารัด ก็คือ ความสามารถของคาปาซิเตอร์ ที่จะสามารถเก็บประจุได้ถึง 1 คูลอมบ์ จากสมการ c = ค่าคาปาซิแตนซ์ มีหน่วยเป็นฟารัด V = โวลต์ Q = ประจุ A = พื้นที่ของเพลตโลหะเป็นตารางนิ้ว d = ค่าความห่างระหว่างเพลต โลหะทั้งสองเป็นนิ้ว = ค่า permittivity ของฉนวนที่อยู่ระหว่างเพลตทั้งสอง

ค่ารีแอกแตนซ์ ค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุ ณ ความถี่ใด ๆ ค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุ ณ ความถี่ใด ๆ การคำนวณค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุจะใช้สูตร โดยที่ คือ ค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุ มีหน่วยเป็นโอห์ม f คือ ความถี่ มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ ( Hz) C คือ ความจุมีหน่วยเป็นฟารัด

การคำนวณตัวเก็บประจุ ต่อแบบขนาน

NOTE: การคำนวณของ R และ C จะตรงกันข้าม ต่อแบบอนุกรม NOTE: การคำนวณของ R และ C จะตรงกันข้าม