Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
Tacoma Narrowed Bridge
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
การแกว่ง ตอนที่ 2.
Review of Ordinary Differential Equations
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ผศ.ดร.เจษฎา ตัณฑนุช โทร
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
Second-Order Circuits
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
Vibration of Torsional Disks
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
Computer Graphics เรขาคณิต 2 มิติ 1.
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเร่งโครงการ Expedite Project.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
adversarial Search Techniques
Recursive Method.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
Application of PID Controller
Ch 9 Second-Order Circuits
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
เฉลยแบบฝึกหัด เมื่อ จะได้ว่า ดังนั้น ค่าวิกฤต คือ.
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Ch 8 Simple RC and RL Circuits
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator Section 3.3 Harmonic Oscillation ใน 2 มิติ Section 3.4 Phase Diagram

Section 3.5 Damped Oscillation การสั่นในธรรมชาติ ล้วนแล้วแต่มีแรง resistant เข้ามาเกี่ยวข้อง แรง resistant จุดสมดุล อันเนื่องมาจากแรงเสียดทาน ความหนืดของตัวกลาง เป็นต้น เราอาจจะ model แรง resistant ดังกล่าวได้ว่า ยังผลให้แรงลัพท์ หรือ สมการ (3.34)

เพื่อสะดวกในการแก้สมการ เรานิยาม และ โดยที่ เรียกว่า “damping parameter” แสดงถึงขนาดของแรง resistant ดังนั้น เขียนสมการที่ควบคุมการเคลื่อนที่ได้ว่า สมการ (3.35) ผลเฉลยของสมการ หรือ นั้น ขึ้นอยู่กับ และ ของระบบ ให้ทบทวน Appendix C “Ordinary Differential Equation 2nd Order” ในการแก้สมการ

ผลเฉลยของสมการแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ผลเฉลยของสมการแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1 2 3

1) Under-Damping แรง Resistant ไม่เพียงพอที่จะหยุดการสั่นโดยสิ้นเชิง ทำให้ amplitude ลดลงเรื่อยๆ นอกจากนี้ ความถี่ก็ลดลงด้วย เกิดขึ้นเมื่อ จากสมการ (3.5) และ Appendix C ผลเฉลยเขียนในรูปทั่วไป สมการ (3.37) นิยาม แล้วจะได้ว่า ลดรูปเหลือ สมการ (3.40) ถ้า การบ้าน

เทอม ส่งผลให้เกิดการสั่น ด้วยความถี่ที่น้อยลง 1) Under-Damping เทอม ส่งผลให้เกิดการสั่น ด้วยความถี่ที่น้อยลง เนื่องจาก Free Oscillation Damped Oscillation ถ้า เทอม ส่งผลให้ amplitude ลดลงเรื่อยๆ ดังนั้น ถ้า การบ้าน ข้อ 3.11

วาด Phase-Diagram ของกรณี Under-Damping Example 3.2 วาด Phase-Diagram ของกรณี Under-Damping Solution ตำแหน่ง ดังนั้น ความเร็ว Phase-Diagram มีลักษณะเป็นรูปก้นหอย เพราะสูญเสียพลังงานไปเรื่อยๆ Under-Damping Free Oscillation การวาด Phase-Diagram ที่ซับซ้อนทำได้โดยคำนวณค่า และ ณ เวลา ต่างๆกัน แล้วลากเส้นต่อจุดเหล่านั้น

ถ้าความหนืดมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่ง 2) Critical-Damping ถ้าความหนืดมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่ง สมการ (3.35) ลดรูปได้ง่ายขึ้นว่า ซึ่งคำตอบของสมการก็คือ สมการ (3.43) 1 2 3 เป็นกรณีที่วัตถุลู่เข้าสู่จุดสมดุลได้เร็วที่สุด โดยไม่มีการ Oscillate

การประยุกต์ใช้งาน Pneumatic Screened Door Vehicle Suspension

2) Over-Damping เป็นที่น่าแปลกใจที่แม้ความหนืดจะมากขึ้นอีก วัตถุก็ไม่ได้หยุดการเคลื่อนที่เร็วขึ้นแต่อย่างใด โดยที่สมการการเคลื่อนที่คือ สมการ (3.44) Phase-Diagram มีความซับซ้อนอยู่บ้าง ขึ้นอยู่กับสถานะเริ่มต้น และ โดยที่ Critical Damping ก็มีลักษณะเหมือนกับกับในกรณีของ Over-Damping ดังที่ได้แสดงไว้แล้วนี้ (แบบฝึกหัด 3.21)

Section 3.6 Driven Oscillation : - Sinusoidal Driving Force - Resonance Tacoma Narrowed Bridge a pair of mile-long suspension bridges in the U.S. state of Washington, which carry State Route 16 across the Tacoma Narrows between Tacoma and the Kitsap Peninsula.