ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

ENGINEERING MATHAMETICS 1
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
การเขียนผังงาน.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
Review of Ordinary Differential Equations
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
อนุกรมกำลัง (power series)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การหาปริพันธ์ (Integration)
บทที่ 5 การแทรกรูปภาพ และอักษรประดิษฐ์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
เศษส่วน.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ชนิดของเซต เช่น A = เซตว่าง (Empty set or Null set)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
สวัสดี...ครับ.
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผังงาน (Flow chart).
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์ Limit at infinity and infinite limit

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 1 จากกราฟของฟังก์ชัน จงหาค่าของ .

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 2 จากกราฟของฟังก์ชัน จงหาค่าของ .

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 2 จากกราฟของฟังก์ชัน จงหาค่าของ .

ลิมิตค่าอนันต์ เราจะเห็นว่า เราไม่สามารถหาค่าลิมิตเมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 0 ของฟังก์ชันข้างต้นได้ แต่เราสามารถอธิบายลักษณะของ f(x) เมื่อ x เข้าใกล้ 0 ได้ดังนี้

ลิมิตค่าอนันต์ ไม่มีค่า ตัวอย่างที่ 1 จากกราฟของฟังก์ชัน จะเห็นว่า เมื่อ x เข้าใกล้ 0 ทางด้านซ้าย f(x) มีค่าลดลงอย่างไม่มีขอบเขต หรืออาจกล่าวได้ว่า x เข้าใกล้ 0 ทางด้านขวา f(x) มีค่าเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีขอบเขต แต่เราไม่สามารถพูดถึงลักษณะของฟังก์ชันเมื่อ x เข้าใกล้ 0 ได้ว่า เป็นอย่างไร จึงกล่าวได้แต่เพียงว่า ไม่มีค่า

ลิมิตค่าอนันต์ สำหรับตัวอย่างที่ 2 และ 3 ให้นักเรียนลองสรุปเองดู

ลิมิตค่าอนันต์ ใช่แล้วครับ จากทั้งสองตัวอย่างเราสามารถสรุป ได้ว่า . และ

ลิมิตค่าอนันต์ บทนิยาม

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้ 1.

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้ 2.

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้ 3.

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้ 4.

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้ 5.

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้ 6.

ลิมิตค่าอนันต์ H.W. 1. จงหาค่าของ 2. จงหาค่าของ ทำ Exercise set 2.2

ลิมิตค่าอนันต์ เส้นกำกับแนวตั้ง (Vertical Asymptotes) สังเกตกราฟของสมการ สรุปการหาเส้นกำกับแนวตั้ง

ลิมิตค่าอนันต์ ตัวอย่างที่ 5 จงหาเส้นกำกับแนวตั้งของกราฟของฟังก์ชัน

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ในการพิจารณาว่า ค่าของฟังก์ชันเป็นอย่างไร เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีขอบเขต เราจะใช้สัญลักษณ์ เช่น หมายความว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีขอบเขตแล้ว f(x) มีค่าเข้าใกล้จำนวนจริงค่าหนึ่งค่าเดียว คือ 3

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ตัวอย่างที่ 1 จากกราฟของฟังก์ชัน จงหาค่าของ . เราสามารถพิสูจน์ได้แต่ต้องใช้นิยามลิมิตแบบ

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ตัวอย่างที่ 1 เป็นตัวอย่างที่สำคัญซึ่งเรานำไปช่วยหาลิมิตที่อนันต์ของฟังก์ชันอื่นได้

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ตัวอย่างที่ 2 จงหา เมื่อ k เป็นจำนวนนับ Hint: ทฤษฎีลิมิตยังเป็นจริงสำหรับ ลิมิตที่อนันต์ ทำนองเดียวกันนักเรียนสามารถหา ได้

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ตัวอย่างที่ 3 จงหา ลองพิจารณากราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ ลองสรุปเป็นกรณีทั่วไป เมื่อต้องการหา

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ตัวอย่างที่ 4 จงหา

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ตัวอย่างที่ 5 จงหา ลองพิจารณากราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ ลองสรุปเป็นกรณีทั่วไป เมื่อต้องการหา

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ถ้าเราเปลี่ยนจาก เป็นฟังก์ชันพหุนามใดๆ จะหาลิมิตได้หรือไม่

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ลิมิตของฟังก์ชันพหุนาม เมื่อ ลองวาดกราฟของฟังก์ชันพหุนามดู Why? Why?

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ลิมิตของฟังก์ชันพหุนาม เมื่อ ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของ

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ลิมิตของฟังก์ชันตรรกยะ เมื่อ ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าของ Hint:

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ลิมิตของฟังก์ชันตรรกยะ เมื่อ ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าของ

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ลิมิตของฟังก์ชันตรรกยะ เมื่อ ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าของ

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ลิมิตของฟังก์ชันตรรกยะ เมื่อ เราสามารถหาลิมิตของฟังก์ชันตรรกยะได้อย่างรวดเร็วจากข้อสังเกตต่อไปนี้ ถ้า และ แล้ว

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) ลิมิตของฟังก์ชันที่มีกรณฑ์ เมื่อ ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าของ ทีนี้ก็ทำแบบฝึกหัด เรื่อง ลิมิตค่าอนันต์และลิมิตที่อนันต์ได้แล้ว

ลิมิตที่อนันต์ (limit at Infinity) เส้นกำกับแนวนอน (Horizontal Asymptote) สังเกตจากตัวอย่างที่ผ่านมา จะเห็นว่า กราฟของฟังก์ชัน จะมีเส้นกำกับแนวนอน เมื่อ และมีสมการเส้นกำกับเป็น y=L