ของส่วนประกอบของเซลล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
Physiology of Crop Production
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
BIOL OGY.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ระบบประสาท (Nervous System)
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
พัฒนาการด้านสังคมในวัยเด็ก
โครงสร้างในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
การจัดระบบในร่างกาย.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ใบ Leaf or Leaves.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
7.Cellular Reproduction
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
โรคเบาหวาน Diabetes.
จัดทำโดย นางสาวปิยะธิดา เยาว ลักษณ์โยธิน
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ระบบขับถ่าย กับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของส่วนประกอบของเซลล์ โครงสร้างและหน้าที่ ของส่วนประกอบของเซลล์

สวัสดีค่ะน้องๆ พี่แนนนี่

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบขนาด ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ชนิดต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตได้ 2. สังเกตและวาดภาพแสดงส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 3. อธิบายรูปร่างลักษณะของส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 4. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้

1. ลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดสามารถดำเนินชีวิตได้ล้วนมีกิจกรรมหลายประการ เช่น มีการกินอาหาร การขับถ่าย การหายใจ การสืบพันธุ์ การเคลื่อนไหวการเจริญเติบโต การรับความรู้สึกและมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า กิจกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นในส่วนประกอบที่เล็กที่สุดเรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งสิ่งมีชีวิตเกิดจากเซลล์แต่ละเซลล์มาเชื่อมต่อกันเป็นจำนวนหลายล้านเซลล์มีรูปร่างหลายแบบ เพื่อให้เหมาะสำหรับการทำหน้าที่ที่แตกต่างกัน เรียกได้ว่าเซลล์เป็นแหล่งที่มีการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของชีวิตพืชและสัตว์นั่นเอง สิ่งมีชีวิตมีทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

1.1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น 1.1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น 1) อะมีบา ซึ่งมีรูปร่างไม่แน่นอน เคลื่อนที่โดยใช้ขาเทียม ภาพที่ 2.2 การกินอาหารของอะมีบา (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)

2) พารามีเซียม รูปร่างเรียวยาวคล้ายรองเท้าแตะ มีเส้นขนรอบ ๆ ตัว และใช้ขนในการเคลื่อนที่ 3) ยูกลีนา มีรูปร่างรียาว มีแฟกเจลลา (แส้) อยู่บริเวรณด้านบน ซึ่งใช้ในการเคลื่อนที่ ภาพที่ 2.3 พารามีเซียม ภาพที่ 2.4 ยูกลีนา (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)

(ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th) 1.2 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ มีลักษณะและรูปต่างแตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสม ที่จะทำหน้าที่อย่างเฉพาะเจาะจง เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง ซึ่งเป็นเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส ตรงกลางจะเว้าเพื่อเพิ่มพื้นที่ในการขนส่งแก๊สออกซิเจน เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์อสุจิของคน เซลล์ประสาทของคน เซลล์กล้ามเนื้อ และเซลล์คุม ซึ่งมีในพืชบกช่วยในการควบคุม การคายน้ำชองพืช เป็นต้น ภาพที่ 2.5 เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของคน ภาพที่ 2.6 เซลล์ประสาทคน ภาพที่ 2.7 เซลล์อสุจิคน (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)

(ที่มาของภาพ : http://www.ratchanee.thport.com/E-learning/Cell.html) ภาพที่ 2.8 เซลล์เม็ดเลือดขาวของคน ภาพที่ 2.9 เซลล์คุม ภาพที่ 2.10 เซลล์เม็ดเลือดแดงคน (ที่มาของภาพ : http://www.ratchanee.thport.com/E-learning/Cell.html) 2. ขนาดของเซลล์ เซลล์มักมีขนาดเล็ก ทำให้ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาขนาดของเซลล์แตกต่างกัน ตั้งแต่ขนาดเล็กที่สุด คือ เซลล์ไมโครพลาสมา (ขนาด 0.15 ไมครอน) ไปจนถึงเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ (ขนาด 100 มิลลิเมตร) ซึ่งมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า 

ภาพที่ 2.11 การเปรียบเทียบขนาดของเซลล์ชนิดต่าง ๆ ภาพที่ 2.11 การเปรียบเทียบขนาดของเซลล์ชนิดต่าง ๆ (ที่มาของภาพ : http://www.sci.kmitnb.ac.th/sn/Media/Science/Cell/cell3.htm

3. ส่วนประกอบของเซลล์และหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ 3.1 ส่วนประกอบของเซลล์ที่สำคัญที่พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ได้แก่ 1) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ และเหนียวประกอบด้วยสารประเภทไขมันและโปรตีน เยื่อหุ้มเซลล์มีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกซึมผ่าน (Selectively Permeable Membrane) ซึ่งสารขนาดเล็กผ่านได้ เยื่อหุ้มเซลล์ทำหน้าที่ ควบคุมปริมาณสารผ่านเข้าและออกจากเซลล์ เช่น น้ำ อาหาร อากาศ และสารละลายต่าง ๆ และทำหน้าที่ห่อหุ้มส่วนประกอบภายในเซลล์ 2) ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็นของเหลวภายในเซลล์ มีสารอาหารต่าง ๆ อยู่ เช่น น้ำตาล กรดอะมิโน โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ และของเสีย นอกจากนี้ยังมีโครงสร้าง ที่มีรูปร่างลักษณะและหน้าที่แตกต่างกัน เช่น แวคิวโอล (Vacuole) เป็นถุงสำหรับ เก็บอาหารและของเสีย ก่อนถูกขับออกนอกเซลล์ ไรโบโซม (Ribosome) เป็นแหล่งสังเคราะห์โปรตีนและเอ็นไซม์และไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้กับเซลล์ เป็นต้น

3) นิวเคลียส (Nucleus) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์สัตว์จะมีลักษณะค่อนข้างกลม และเซลล์พืชจะมีลักษณะสี่เหลี่ยม มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น มีรูเล็ก ๆ เป็นเยื่อเลือกผ่านซึ่งเป็นทางผ่าน ของสารต่าง ๆ เข้าและออกจากนิวเคลียส ภายในมีโครโมโซม บนโครโมโซมมีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนอยู่ นิวเคลียสมีหน้าที่ควบคุมการทำงานของเซลล์และการเจริญเติบโต ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และเป็นแหล่งสังเคราะห์สารพันธุกรรม และควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์ ภาพที่ 2.12 ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (ที่มาของภาพ : http://www.thaiblogonline.com/noon.blog

3. 2 ส่วนประกอบของเซลล์ที่สำคัญที่พบเฉพาะในเซลล์พืช ได้แก่ 3.2 ส่วนประกอบของเซลล์ที่สำคัญที่พบเฉพาะในเซลล์พืช ได้แก่ 1) ผนังเซลล์ (Cell Wall) อยู่ชั้นนอกสุดของเซลล์พืช เป็นผนังที่แข็งแรง ประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลสซึ่งสร้างมาจากน้ำตาล เป็นส่วนที่มีชีวิต ทำให้เซลล์ทนทานและแข็งแรง และเป็นเยื่อที่ยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าออกได้ ผนังเซลล์มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรง และป้องกันอันตรายให้กับเซลล์พืช 2) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) พบในไซโทพลาสซึมและเซลล์พืชบางชนิด เป็นเม็ดสีเขียว มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น โดยเยื่อนอกทำหน้าที่ควบคุมโมเลกุลขอสารที่ผ่านเข้าออก ชั้นในมีสารที่เรียกว่า คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการรับแสง และมีของเหลวที่ประกอบด้วยเอ็นไซม์หลายชนิดที่ใช้ในการสร้างอาหารของพืช ดังนั้น คลอโรพลาสต์ ทำหน้าที่รับแสงเพื่อใช้ในการสังเคราะห์อาหารของพืช ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์เมื่อเปรียบเทียบ จะมีส่วนที่เหมือนกันและแตกต่างกัน ดังนี้

และแวคิวโอล เป็นส่วนประกอบที่มีอยู่ในไซโทพลาสซึม นะครับ ไรโบโซม เซนทริโอล และแวคิวโอล เป็นส่วนประกอบที่มีอยู่ในไซโทพลาสซึม นะครับ เซลล์พืช เซลล์สัตว์ 1. ค่อนข้างเหลี่ยม 2. มีผนังเซลล์ 3. มีคลอโรพลาสต์ 4. ไม่มีเซนทริโอล 5. มีความแข็งแรง 1. เยื่อหุ้มเซลล์ 2. นิวเคลียส 3.ไซโทพลาสซึม 4. แวคิวโอล 5. ไรโบโซม 1. ค่อนข้างกลม 2. ไม่มีผนังเซลล์ 3. ไม่มีคลอโรพลาสต์ 4. มีเซนทริโอล 5. อ่อนนุ่ม (ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3). นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)

เด็กๆ ลองมาช่วยพี่โดเรมอลทำแบบทดสอบกัน ซะหน่อยนะครับ

1. จากภาพ ข้อใดเป็นเซลล์ประสาทของคน ก.     ข. ค.  ง.

2. ส่วนประกอบใดที่ทำหน้าที่ในการรับพลังงานแสงเพื่อนำไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง    ก. หมายเลข 2 ข. หมายเลข 3 ค. หมายเลข 4 ง. หมายเลข 5

3. ส่วนประกอบใดของเซลล์พืชที่แตกต่างจากเซลล์สัตว์ ก. ผนังเซลล์ และเยื่อหุ้มเซลล์ ข. ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ ค. คลอโรพลาสต์และไซโทพลาสซึม ง. ไซโทพลาสซึมและผนังเซลล์

4. ส่วนประกอบใดที่อยู่ในไซโทพลาสซึม ที่ทำหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีนและเอนไซม์ ก. ไรโบโซม ข. คลอโรพลาสต์ ค. แวคิวโอล ง. เซทริโอล

5. จากภาพเป็นส่วนประกอบของพืชที่ทำหน้าที่ใด   ก. ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ข. ควบคุมการคายน้ำของพืช ค. ควบคุมการหายใจของพืช ง. ควบคุมการแลกเปลี่ยนแก๊สภายในพืช

เฉลย 1.  ก          2.  ง       3. ค         4.  ก          5.  ข                

Bye พี่แนนนี่