เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
กลไกการวิวัฒนาการ.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต UMAPORN.
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
บรรยากาศ.
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
ของส่วนประกอบของเซลล์
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
Cell Specialization.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
BIOL OGY.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ระบบประสาท (Nervous System)
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
โครงสร้างในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
7.Cellular Reproduction
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
จัดทำโดย นางสาวปิยะธิดา เยาว ลักษณ์โยธิน
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
โดย นางธนาวลัย อรัญญิก
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Kingdom Plantae.
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช นางสาวกุลธิดา แก่นแก้ว ตำแหน่ง ครู คศ. 1 โรงเรียนหนองหิ้งพิทยา

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถอธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ได้ 2. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

สิ่งมีชีวิตจะดำรงชีวิตอยู่ได้จะต้องประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆ ที่เรียกว่า เซลล์

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เซลล์มักมีรูปร่างเป็นเหลี่ยม มีผนังเซลล์ห่อหุ้ม เพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับเซลล์ 1. เซลล์พืช 2. เซลล์สัตว์ เซลล์สัตว์มีรูปร่างไม่แน่นอน ไม่มีผนังเซลล์ ถึงแม้ว่ารูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตจะแตกต่างกัน แต่ โครงสร้างหลักก็ยังคงเหมือนกัน

โครงสร้างที่เป็นส่วนประกอบหลักของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 1. ส่วนเยื่อหุ้มเซลล์ 1.1 เยื่อหุ้มเซลล์ 1.2 ผนังเซลล์ 2. ส่วนที่อยู่ภายในส่วนห่อหุ้มเซลล์ 2.1 ไซโทพลาซึม 2.2 นิวเคลียส

1. ส่วนเยื่อหุ้มเซลล์ เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ห่อหุ้มองค์ประกอบภายในเซลล์ให้คงอยู่ได้ 1.1 เยื่อหุ้มเซลล์ พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เป็นเยื่อที่บางมากมีรูพรุน ทำหน้าที่ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าและออกจากเซลล์ 1.2 ผนังเซลล์ พบเฉพาะในเซลล์พืช ทำหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงและป้องกันอันตรายให้กับเซลล์พืช โดยการห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์ไว้อีกชั้นหนึ่ง

2. ส่วนที่อยู่ภายในส่วนห่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า โพรโทพลาซึม ประกอบด้วย 2.1 ไซโทพลาซึม เป็นโพรโทพลาซึมที่อยู่นอกนิวเคลียส มีลักษณะเป็นของเหลวกึ่งแข็งที่มีโครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์อยู่ 2.2 นิวเคลียส เป็นโครงสร้างที่มีบทบาทสำคัญที่สุดของเซลล์ เพราะเป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของเซลล์ โดยทำงานร่วมกับโพรโทพลาซึม และมีความสำคัญต่อกระบวนการแบ่งเซลล์

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

เยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยโมเลกุลของโปรตีนและไขมันมีลักษณะเป็นเยื่อบ่าง ๆ มีความยืนหยุ่นได้ และมีรูพรุนสามารถจำกัดขนาดของสารที่ผ่านเข้าออกได้ จึงมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน คือ ยอมให้โมเลกุลของสารขนาดเล็กผ่านได้ เช่น น้ำ ก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนสารขนาดใหญ่ผ่านไม่ได้ เช่น โปรตีน หน้าที่ คือ ห่อหุ้มเซลล์ทำให้เซลล์คงรูปอยู่ได้ ช่วยคัดเลือกสารและควบคุมปริมาณของสารที่ผ่านเข้าและออกจากเซลล์

ผนังเซลล์ ผนังเซลล์ (Cell Wall) เป็นผนังแข็งแรงอยู่ชั้นนอกสุดของเซลล์พืชส่วนใหญ่สร้างจากสารเซลโลโลส เป็นส่วนที่ไม่มีชีวิต ทำให้เซลล์ทนทานและเป็นเยื่อที่ยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าและออกจากเซลล์ได้ มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงและป้องกันอันตรายให้กับเซลล์

คลอโรพลาสต์ มีลักษณะเป็นเม็ดสีเขียวมีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น โดยชั้นนอกทำหน้าที่ควบคุมโมเลกุลของสารที่ผ่านเข้าออกชั้นในมีสารสีเขียวที่เรียกว่า ครอโรฟิลล์ (Cholorophyll) มีสมบัติดูดพลังงานแสงมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสง ทำให้พืชสามารถสร้างอาหารได้เอง ซึ่งเซลล์สัตว์ไม่มีครอโรพลาสต์

ไมโทคอนเดรีย มีลักษณะกลมจนถึงเรียวแตกต่างกันตามชนิดของสิ่งมีชีวิตทำหน้าที่เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์

แวคิวโอล ลักษณะเป็นถุงใสที่มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอนทำหน้าที่ควบคุมปริมาณน้ำในเซลล์ สะสมน้ำ เก็บอาหาร และขับของเสียที่เป็นของเหลว

นิวเคลียส เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์ มีลักษณะค่อนข้างกลม มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น มีรูเล็ก ๆ เป็นเยื่อเลือกผ่านซึ่งเป็นทางผ่านของสารต่าง ๆ เข้าและออกจากนิวเคลียส ภายในมีโครโมโซม บนโครโมโซมมีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนอยู่ หน้าที่ ของนิวเคลียส เป็นศูนย์กลางในการควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และควบคุมการทำงานของเซลล์และการเจริญเติบโตเป็นแหล่งสังเคราะห์สารพันธุกรรมและควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์

เปรียบเทียบส่วนประกอบของโครงสร้างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระว่างโครงสร้างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ โครงสร้างของเซลล์ ชนิดของเซลล์ เซลล์พืช เซลล์สัตว์ ผนังเซลล์ มี ไม่มี เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส คลอโรพลาส

เซลล์พืช เซลล์สัตว์ เยื่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียส ผนังเซลล์ ไมโทคอนเดรีย ไรโบโซม ร่างแหเอนโดพลาซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ผนังเซลล์ คลอโรพลาสต์ แวคิวโอล ไลโซโซม เซลล์พืช เซลล์สัตว์