Adult Basic Life Support

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 ให้ผู้บริหารโรงเรียน ทุกโรงเรียนได้ ป้องกันขนย้ายสิ่งของที่ อยู่ชั้นล่างเอาไปไว้ ในที่สูง ๒. จัดหากระสอบ และ ทรายเพื่อทำคัน ป้องกันเบื้องต้น.
Advertisements

Rescue a child with choking
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
หลักสำคัญในการล้างมือ
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การสำรวจร่องน้ำคลองบางนรา จ.นราธิวาส
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
การบริหารกล้ามเนื้อต้นคอ
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ตำแหน่งของลำตัวและศรีษะ
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย นนอ. ๑. ตรวจสอบ นนอ. ไม่ผ่านสถานีใด ๒
การตรวจเท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
คือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด
การบริหารยาทางฝอยละออง
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
เจ็บแน่นหน้าอก.
การตรวจชีพจรและวัดความดันโลหิต
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
กรณีกดจุดระงับหอบหืด ให้ผู้อื่นกดให้
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
กำมือ เคาะเบาๆ ที่สันหลัง จากบนลงล่าง 6 เที่ยว
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
การนวดไทยแบบราชสำนัก
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
 ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ ◦ ประชุมรายละเอียดและขอบเขตของการปฏิบัติงาน ◦ เยี่ยมชมคลังเวชภัณฑ์ยา คลังที่ ๘ ปฏิบัติงาน ตรวจสอบตู้เก็บยา  ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๗ ◦ ปฏิบัติงานตรวจสอบตู้เก็บเซรุ่ม.
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน
สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการความปลอดภัย
Tonsillits Pharynngitis
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
ไดร์เป่าผม เป่าขอบก้นสองข้างให้ทั่ว 1 นาที
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน Basic Life Support
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Adult Basic Life Support สมพงษ์ ชลคีรี พบ.

Adult Chain of Survival

๕ ก. ช่วยหายใจ ๑ ครั้งทุก ๕ ถึง ๖ วินาที ตรวจเช็คชีพจรซ้ำทุก ๒ นาที ๑. พบผู้หมดสติ ๒. โทรศัพท์เรียกหาผู้ช่วย ”1669” ๓. เปิดทางเดินหายใจ เช็คการหายใจ ๔. ถ้าไม่หายใจ ช่วยหายใจ ๒ ครั้ง ได้ ๕ ก. ช่วยหายใจ ๑ ครั้งทุก ๕ ถึง ๖ วินาที ตรวจเช็คชีพจรซ้ำทุก ๒ นาที ๕. เช็คชีพจรที่คอ ไม่ได้ ๖. กดหน้าอก ๓๐ ครั้งสลับกับช่วยหายใจ ๒ ครั้ง จนกว่า AED หรือ ALS ทีมมาถึง ๗. AED มาถึง ๘. เช็คจังหวะการเต้น แนะให้ช็อก ไม่แนะให้ช็อก ๙. ช็อก ๑ ครั้ง ต่อด้วย CPR ๕ รอบ ๑๐. CPR ต่อ ๕ รอบ เช็คจังหวะการเต้นทุก ๕ รอบ

กรณีจมน้ำให้ CPR ก่อน ๑ รอบ (๒นาที) จึงเรียกหาความช่วยเหลือ ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ตรวจสอบโดยการเรียก เรียกหาความช่วยเหลือ หาคนช่วยในพื้นที่ เรียกระบบฉุกเฉิน เช่น EMS เรียกหา AED ข้อยกเว้น กรณีจมน้ำให้ CPR ก่อน ๑ รอบ (๒นาที) จึงเรียกหาความช่วยเหลือ

ผู้ป่วยที่หายใจแบบ air hunger ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับหยุดหายใจ เปิดทางเดินหายใจ และตรวจสอบการหายใจ จัดท่านอนหงายราบ เปิดทางเดินหายใจโดย ใช้ Head -tilt and Chin-lift ในกรณีไม่บาดเจ็บ Jaw-thrust and Chin-lift กรณีการบาดเจ็บ และประคับประคองคอด้วยมือ ตรวจสอบการหายใจในเวลา ๑๐ วินาที ตาดู หูฟังแก้มสัมผัส หมายเหตุ ผู้ป่วยที่หายใจแบบ air hunger ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับหยุดหายใจ

กรณีไม่หายใจ ช่วยหายใจ ๒ ครั้งด้วย ช่วยหายใจ ๒ ครั้งด้วย Mouth-to-mouth Mouth-to-mask Bag –to-mask Bag-to-tube เป่าลมเข้าในระยะเวลา ๑ วินาทีให้เห็นการขยายของทรวงอก พักสูดหายใจปกติ แล้วเป่าลมเข้าอีกครั้งใน ๑ วินาที หมายเหตุ ต้องเปิดทางเดินหายใจให้ได้ตลอดขณะช่วยหายใจ ไม่เป่าหรือบีบ Bag แบบกระแทกเร็ว ๆ กรณีมี Tube อยู่แล้วให้ช่วยหายใจในอัตรา ๘-๑๐ ครั้งต่อนาที กรณีมีความพร้อม เปิด Oxygen ๑๐-๑๒ ลิตร/นาที

ตรวจสอบชีพจร คลำชีพจรที่คอ ใช้เวลาตรวจสอบไม่เกิน ๑๐ วินาที หมายเหตุ ใช้เวลาไม่เกิน ๑๐ วินาที กรณีไม่แน่ใจให้ตัดสินว่าไม่มีชีพจร กรณีผู้ช่วยไม่ใช่บุคลากรการแพทย์ ให้ตัดสินไปเลยว่าผู้หมดสติที่ไม่หายใจนั้นชีพจรหยุดเต้นโดยไม่ต้องตรวจคลำชีพจร

5a. มีชีพจร(แต่ไม่หายใจ) ช่วยหายใจด้วยอัตราประมาณ ๑๐ – ๑๒ ครั้งต่อนาที หรือ ช่วยหายใจครั้งหนึ่งทุก ๕ – ๖ วินาที การช่วยหายใจแต่ละครั้งใช้เวลาเป่าลมเข้าใน ๑ วินาที ตรวจเช็คชีพจรทุก ๒ นาที หมายเหตุ ต้องเปิดทางเดินหายใจให้ได้ ถ้าพร้อมต้องมีการให้ Oxygen เสริม

ไม่มีชีพจร กดหน้าอก ๓๐ ครั้งสลับกับช่วยหายใจ ๒ ครั้ง ตำแหน่งที่กึ่งกลางกระดูกหน้าอก กดให้ได้ลึก ๑.๕ – ๒ นิ้วและปล่อยให้ขยายตัวจนสุด อัตราการกดหน้าอกประมาณ ๑๐๐ ครั้งต่อนาที ไม่หยุดจนกว่าจะมีทีม ALS หรือมีเครื่อง EAD มาถึง หมายเหตุ ผู้ช่วยเหลือควรอยู่ด้านข้างของผู้ป่วย ต้องกดอย่างต่อเนื่องโดยไม่หยุด แขนตรง มือสัมผัสหน้าอกตลอดเวลา อัตรา ๓๐ : ๒ ทั้งการช่วยคนเดียวและสองคน ประเมินชีพจรเมื่อครบ ๒ นาที หรือ ๕ รอบ

7, 8 เมื่อเครื่อง EAD มาถึง เปิดเครื่องกดปุ่ม “diagnose”

Shockable rhythm กดปุ่ม “Shock” ๑ ครั้ง CPR ต่ออีก ๔ รอบ หรือ ๒ นาทีแล้วเช็คชีพจรและ rhythm

Not Shockable CPR ต่อ เช็คชีพจรและ rhythm ทุก ๔รอบ หรือ ๒ นาที ไปจนกว่า ทีม ALS จะมาถึง

Drowning สาเหตุการเสียชีวิตจากการจมน้ำมักเกิดจากขาดอากาศหายใจเนื่องจาก Reflex Laryngospasm การทำ CPR ให้เร็วที่สุด โดยเฉพาะการเปิดทางเดินหายใจและการช่วยหายใจ(แม้เมื่อขณะกำลังเอาขึ้นจากน้ำ) จะช่วยชีวิตได้มากที่สุด ควรรีบนำผู้ป่วยขึ้นจากน้ำให้เร็วที่สุด เพราะการกดหน้าอกในน้ำไม่ได้ผล การป้องกันกระดูกคอ จำเป็นก็ต่อเมื่อประวัติการบาดเจ็บน่าสงสัย ไม่มีความจำเป็นต้องเอาน้ำออกจากปากหรือท้องก่อน CPR ในระหว่าง CPR ถ้าอาเจียนออกให้ตะแคงหน้าและ remove FB

Hypothermia ระดับของ Hypothermia การปฏิบัติการ CPR เหมือนผู้ป่วยอื่น ๆ Mild > 34 C : passive external rewarming Moderate 30 – 34 C : active external rewarming Severe < 30 C : active internal rewarming การปฏิบัติการ CPR เหมือนผู้ป่วยอื่น ๆ ในระหว่าง CPR ป้องกันการสูญเสียความร้อนต่อเนื่องโดยการ ถอดเสื้อผ้าที่เปียก การหาเสื้อผ้าแห้ง ๆ ปกคลุม การป้องกันกระแสลม การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องนุ่มนวลเพราะจะกระตุ้นให้เกด VF ได้

Foreign Body aspiration การตรวจพบ หอบเหนื่อย แน่น หายใจลำบาก ไอไม่มีเสียง พูดไม่ได้ เขียว หยุดหายใจ

Foreign Body aspiration การช่วยเหลือ การกระตุ้นไอและเคาะปอด การกดท้อง(Abdominal thrust) การกดหน้าอก(chest thrust)

Recovery Position ใช้เพื่อป้องกันการสูดสำลักในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว แต่การหายใจและระบบไหลเวียนดี ไม่ควรใช้ในรายการบาดเจ็บ