ทรัพยากรสารสนเทศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
การเขียนบทความ.
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 08/04/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
การนำเสนอบทความ เรื่อง .กับคำถามว่าทำไมสังคมไทยถึงเป็นอย่างนี้..
และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
การนำเสนอบทความ เรื่อง การจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคาร
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
การจัดการเอกสารที่ได้รับบริจาคเข้า ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์
สอบรายวิชา การใช้ทรัพยากรห้องสมุด
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 04/01/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
Seminar in computer Science
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
“ จดหมายเหตุ CHILL CHILL ”
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
งานข้อมูลท้องถิ่น สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
วัสดุสารสนเทศ หมายถึง วัสดุหรือสื่อ (Media) ที่ใช้บรรจุสารสนเทศ
หนังสืออ้างอิง.
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
วัสดุไม่ตีพิมพ์.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
หนังสืออ้างอิง (Reference Books)
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
ฐานข้อมูล Science Direct
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
รายงานการศึกษาค้นคว้า
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
แหล่งสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข 1. IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 2 หน่วยที่ 2 2. แหล่งสารสนเทศแยกประเภท ตามแหล่งที่เกิด 2.1.
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
หน่วยที่ ๔ การเขียนรายงาน
หนังสือที่ให้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ มีการเรียงลำดับ อย่างเป็นระบบ และมี เครื่องมือช่วยค้นที่ดี ทำ ให้สะดวก และรวดเร็วในการค้น.
Wiley Online Library. Wiley Online Library Wiley Online Library เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ รวบรวมวารสารมากกว่า 800 รายชื่อ ครอบคลุมสาขาวิชาทางด้าน.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน. การจำแนกประเภท  ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศทุติย ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศตติย ภูมิ
ทรัพยากรสารสนเทศ วัสดุ หรือ สื่อ ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทรัพยากรสารสนเทศ

ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด               ความหมายของทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด              ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง แหล่งสารสนเทศทุกรูปแบบที่ห้องสมุดได้คัดเลือก จัดหา วิเคราะห์ และจัดรวบรวม อย่าง เป็นระเบียบไว้ให้ผู้ใช้ค้นคว้าหาสารสนเทศที่ต้องการ และจัดบุคคลากรบริการสารสนเทศ เพื่อคอยอำนวย ความสะดวก แก่ผู้ใช้

ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด                     ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดมีหลายรูปแบบ แบ่งออกได้เป็น  5 ประเภท คือ               1. สิ่งตีพิมพ์บนแผ่นกระดาษ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค               2. สิ่งบันทึกลายลักษณ์อักษรด้วยมือ เช่น จอหมายตอบโต้ ต้นฉบับลายมือด้วยตัวเขียน หรือพิมพ์               3. สื่อโสตทัศน์ เช่น รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ แถบวิดีทัศน์               4. วัสดุย่อส่วน เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช ไมโครคาร์ด               5. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น แผ่นจานแม่เหล็ก แถบแม่เหล็ก จานเสียง ซีดีรอม

หนังสือ                    หนังสือเป็นสิ่งพิมพ์ที่เกิดจากความรู้ ความคิดสติปัญญา และประสบการณ์ของมนุษย์จัดทำเป็นรูปเล่มหนังสือ แบ่งตามลักษณะเนื้อหาได้ 5 ประการ คือ               1. หนังสือสารคดี (Non fiction)               2. หนังสือบันเทิงคดี (fiction)               3. ตำรา (textbook)               4.  หนังสืออ้างอิง (Reference book)               5. สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government publication)            

ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ โดยทั่วไปอาจแบ่งเป็น 4 ส่วน 1   ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ โดยทั่วไปอาจแบ่งเป็น 4 ส่วน               1. ส่วนปก (Binding)                                      ใบหุ้มปกหนังสือ (book jacket)                      ปกหนังสือ (cover)                    ใบรองปก (fly leaf)    2. ส่วนเริ่มต้น  (Preliminary)                                           หน้าชื่อเรื่อง (half title page)                                         หน้าปกใน  (Title page)                                         หน้าลิขสิทธิ์  (Copy right page)                                         หน้าคำอุทิศ  (Dedication page)                                         หน้าคำนิยม  (Foreword)                                                                    

3. ส่วนเนื้อหา (Text or body of the book) 4   3. ส่วนเนื้อหา  (Text or body of the book)     4. ส่วนท้ายหรือส่วนเสริมเนื้อหา  (auxiliary  pages)                                           เชิงอรรถ  (footnotes)                                           อภิธานศัพท์  (glossary)                                           ภาคผนวก  (appendix)                                           บรรณานุกรม  (bibliography)                                           ดรรชนี  (index)  

วารสารและหนังสือพิมพ์ (Periodical)                      เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกเป็นตอนๆ  ต่อเนื่องกัน มีกำหนดระยะเวลาที่ออกแน่นอนสม่ำเสมอและติดต่อกันไปตามลำดับ เช่น รายวัน  รายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน และรายสามเดือนวารสารและหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่เสนอ เนื้อหาสาระในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะมีการจัดทำวารสารหลายลักษณะซึ่งแต่ละลักษณะมีชื่อเรียกดังนี้  

นิตยสาร (Magazine)  เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความบันเทิงและความรู้ทั่วไปไม่เน้นหนักทางวิชาการ               วารสารทางวิชาการ (Journal ) เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์โดยสมาคมทางวิชาการ สถาบันหรือหน่วยงานวิชาการ สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ขอบเขตของเนื้อเรื่องประกอบด้วยบทความ รายงาน และข่าวความเคลื่อนไหวทางวิชาการ   วารสารวิเคราะห์และวิจารณ์ข่าว (review  journal) เป็นสิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าวในรูปของการวิเคราะห์ วิจารณ์ ข่าวที่นำมาเสนอส่วนใหญ่ ได้แก่ข่าวเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม

จุลสาร และ กฤตภาค                      จุลสาร(pamphlets)  เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้สารสนเทศเรื่องใดเรื่องหนึ่งส่วนมากเป็นสารสนเทศ ที่ทันสมัยอยู่ในความสนใจของบุคคลทั่วไป                  กฤตภาค(clipping) เป็นบทความเหตุการณ์สำคัญเรื่องราวต่างๆ  รูปภาพรูปบุคคลที่มีชื่อเสียงแผนที่หรือสารสนเทศอื่นๆ

สื่อโสตทัศน์                  สื่อโสตทัศน์  (audio-visual  materials) โสตทัศนวัสดุ หรือวัสดุไม่ตีพิมพ์ (nonbook  materials หรือ  (nonprint  materials)   วัสดุย่อส่วน                 วัสดุย่อส่วน(micrographic หรือ microforms) หมายถึง วัสดุที่บันทึกสารสนเทศจากสิ่งพิมพ์ที่เป็น หนังสือวารสาร หนังสือพิมพ์ วิทยานิพนธ์ จดหมายโต้ตอบ หนังสือ หายาก ต้นฉบับ โดยการถ่ายในลักษณะย่อส่วนลงบน แผ่นฟิล์มขนาดเล็กเพื่อประหยัด เนื้อที่ในการเก็บ และป้องกัน การฉีกขาด ทำลายแบ่งได้  2  ประเภทคือฟิล์มโปร่งแสง และ บัตรทึบแสง