การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
พาราโบลา (Parabola).
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติ.
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
การประมาณค่าทางสถิติ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
Functions and Their Graphs
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ (Standard Error of Estimate: SEE)
การใช้งานโปรแกรม EViews เบื้องต้น
Y = a +bX 11.1 หาสมการถดถอย หาค่า b, a Y = X.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การคำนวณทางสถิติ (Statistics worksheet)
Menu Analyze > Correlate
การวิเคราะห์ Logistic Regression
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การทดสอบสมมติฐาน
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การศึกษาความพึงพอใจของ
การแปรผันตรง (Direct variation)
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
เรื่อง การนำเสนอข้อมูลด้วยกราฟ
รายงาน เรื่อง การป้อนข้อมูลและแก้ไขข้อมูล โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
สหสัมพันธ์ (correlation)
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
แนวทางการนำเสนอข้อมูลจากการวิเคราะห์ โดยใช้ Logistic Regression
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับ (Multilevel Analysis) ด้วยโปรแกรม HLM
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง
E D E,C 1 D E,C 1,C 2,C 3 D ตัวแปรต้น ตัวแปร ตาม ตัวแปรอิสระ แทนด้วย X X 1, X 2,... X k D ตัวอย่าง : X 1 = E X 4 = E*C 1 X 2 = C 1 X 5 = C 1 *C 2 X 3 =
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การถดถอยเชิงเดียว (simple regression) การนำเสนอต่อไปนี้ ภาพจะวางซ้อนกัน โดยชุดหลังจะทับชุดก่อน ดังนั้น ถ้าต้องการย้อนกลับไปดูชุดก่อน ให้กดปุ่ม PageUp วัฒนา สุนทรธัย การถดถอยเชิงเดียว (simple regression) รูปแบบ y = a + bx เมื่อ x = ตัวแปรอิสระ (independent variable) หรือตัวพยากรณ์ (predictor) y = ตัวแปรตาม (dependent variable) หรือตัวถูกพยากรณ์ (predicted variable) a คือ ค่าคงตัว (constant) หรือระยะตัดแกน y หรือค่า y เมื่อ x = 0 และ b คือ สัมประสิทธิ์ของการถดถอย หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เมื่อ x เพิ่มขึ้น 1 หน่วย โดยตัวแปร x, y ต้องมาจากข้อมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) ตัวอย่าง จงสร้างสมการถดถอยเพื่อพยากรณ์น้ำหนัก(y)จากส่วนสูง(x)ของนักศึกษาหญิงจำนวน 8 คน ซึ่งมีข้อมูลดังในโปรแกรมต่อไปนี้

ตาราง Model Summary, ตาราง ANOVA, และ ตาราง Coefficients จากข้อมูลที่ป้อนแล้วนี้ ให้คลิก Analyze Regression Linear เมื่อปรากฎหน้าต่าง Linear Regression แล้วให้ป้อนคำสั่งดังต่อไปนี้ ที่ Dependent ป้อน y ที่ Independent ป้อน x ที่ Method เลือก Enter แล้วกดปุ่ม OK จะได้ตารางหลักดังนี้คือ ตาราง Model Summary, ตาราง ANOVA, และ ตาราง Coefficients

ตาราง Model Summary แปลว่าเราสามารถอธิบายหรือพยากรณ์น้ำหนักของนักศึกษาหญิงโดยใช้ส่วนสูงได้ถูกต้อง 58.1% ที่เหลือ 100 - 58.1 = 41.9% คือความแปรปรวนที่ไม่สามารถอธิบายได้ สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ สัมประสิทธิ์ การตัดสินใจ ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน ในการประมาณค่า (se) สัมประสิทธิ์การตัดสินใจหลังปรับค่า

ตาราง ANOVA การทดสอบนัยสำคัญของตัวแบบ (Model) ถ้าตัวแบบไม่มีนัยสำคัญแล้ว แปลว่าตัวพยากรณ์ X ไม่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม Y หรือไม่สามารถนำไปใช้ในการพยากรณ์ตัวแปรตาม Y ได้ ในที่นี้มีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (Sig. มีค่า 0.028 ซึ่งไม่เกิน 0.05) แสดงว่าตัวแบบนี้นำไปใช้ในการพยากรณ์ได้

ตาราง Coefficients ปรากฏว่าค่าคงตัวไม่มีนัยสำคัญ (0.148 > 0.05) แต่สัมประสิทธิ์การถดถอยมีนัยสำคัญ (0.028 < 0.05) ค่าคงตัว (คือ a = -66.068) และสัมประสิทธิ์การถดถอยของ X (คือ b = 0.718) เมื่อแทนค่า a, b ใน y = a + bx แล้ว จะได้สมการพยากรณ์คือ y = -66.068 + 0.718x

การพยากรณ์นักศึกษาหญิง ที่มีความสูงเท่ากับ 165 เซ็นติเมตร การพยากรณ์: y/ = -66.068 + 0.718x = -66.068 + 0.718(165) = -66.068 +118.47 = 52.40 กิโลกรัม ถ้า n มีขนาดใหญ่แล้ว ช่วงความเชื่อมั่น 95% ของค่าพยากรณ์ คือ y/ ± 1.96se

ความสัมพันธ์ระหว่างความสูง (X) กับน้ำหนัก (Y) กราฟของเส้นตรง y = -66.068 + 0.718x = 52.40 เมื่อ x = 165 y = 52.40 แปลว่านักศึกษาหญิงที่มีความสูงเท่ากับ 165 เซ็นติเมตร จะมีน้ำหนักตัวประมาณ 52 กิโลกรัม x = 165