การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Management Information Systems
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
Menu Analyze > Correlate
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
T-Test compare with mean Independent Paired
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของ
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
การลงข้อมูลแผนการสอน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์ บทที่ 11 การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์ BC428 : Research in Business Computer

การวิเคราะห์สถิติแบบไม่ใช้พารามิเตอร์ ใช้วัดผลของข้อมูลที่มีมาตรวัดที่มีคุณภาพต่ำได้ ข้อมูลไม่จำเป็นต้องมีการแจกแจงแบบปกติ สามารถวิเคราะห์ได้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดเล็กได้ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์จะด้อยกว่าสถิติแบบใช้พารามิเตอร์ BC428 : Research in Business Computer

รายละเอียดในบทนี้ การทดสอบค่ากลางของประชากร 1 กลุ่ม การทดสอบความแตกต่างของค่ากลางระหว่างประชากร 2 กลุ่ม การทดสอบความแตกต่างของค่ากลางประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบค่ากลางของประชากร 1 กลุ่ม เป็นการทดสอบว่าค่ากลาง(ค่ามัธยฐาน) มีความแตกต่างจากค่าที่กำหนดไว้หรือไม่ วิธีการทดสอบจะใช้วิธีการทดสอบรันส์(Run Test) สมมติฐานได้ 3 แบบ ดังนี้ แบบที่ 1 การทดสอบแบบสองทาง(2-Tailed Test) H0: M =  และ H1 : M   แบบที่ 2 การทดสอบแบบทางเดียว (1-Tailed Test) H0: M   และ H1 : M   แบบที่ 3 การทดสอบแบบทางเดียว (1-Tailed Test) H0: M   และ H1 : M   BC428 : Research in Business Computer

กรณีที่เป็น 1-tailed จะต้องพิจารณาเงื่อนไขต่าง ๆ ดังนี้ ค่า Sig ที่แท้จริง(กรณี 1-tailed test) เมื่อค่า Z เป็น บวก เมื่อค่า Z เป็น ลบ H1 : M < θ 1-[Sig(2-tailed)/2] Sig(2-tailed)/2 H1 : M > θ BC428 : Research in Business Computer

ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม Data11_1.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. ระดับไอคิว ................................ ข้อมูลที่เก็บได้เป็นดังนี้ 140,120,132,100,100,145,160,100,150,150,148,149,130,150,143 ต้องการทดสอบว่าไอคิว(ตัวแปร IQ) เท่ากับ140 หรือไม่ คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  Runs… BC428 : Research in Business Computer

Ho : ระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาเท่ากับ 140 สถิติทดสอบ คือ Z-Test = -0.392 ค่า Sig = 0.695 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาเท่ากับ 140 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ ตัวแปร N SD Z Sig. ระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 15 134.47 20.325 -0.392 0.695 Test value = 140 จากตารางแสดงระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา พบว่า ระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษามีค่าเท่ากับ 140 ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.695 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบความแตกต่างของค่ากลางระหว่างประชากร 2 กลุ่ม จำแนกการทดสอบเป็น 2 เรื่อง กรณีที่ประชากร 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน กรณีที่ประชากร 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน BC428 : Research in Business Computer

กรณีที่ประชากร 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน ใช้สถิติทดสอบของแมน-วิทนี ยู(Mann-Whitney U Test) สามารถเขียนสมมติฐานได้ 3 แบบ ดังนี้ แบบที่ 1 การทดสอบแบบสองทาง(2-Tailed Test) Ho: M1 = M2 และ H1 : M 1  M2 แบบที่ 2 การทดสอบแบบทางเดียว (1-Tailed Test) Ho: M1  M2 และ H1 : M1  M2 แบบที่ 3 การทดสอบแบบทางเดียว (1-Tailed Test) Ho: M1  M2 และ H1 : M1  M2 BC428 : Research in Business Computer

การเลือกใช้สถิติทดสอบ เลือก U เมื่อจำนวนข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ในแต่ละกลุ่มไม่เกิน 10 ค่า (n1 ≤ 10 และ n2 ≤ 10) กรณีที่เป็น 1-tailed จะใช้ค่า Sig/2 เลือก Z จะใช้เมื่อจำนวนข้อมูลที่เก็บรวบรวมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมีค่าเกิน 10 ค่า (n1 > 10 และ n2 > 10) กรณีที่เป็น 1-tailed จะใช้ ตารางนี้ ค่า Sig ที่แท้จริง(กรณี 1-tailed test) เมื่อค่า Z เป็น บวก เมื่อค่า Z เป็น ลบ H1 : M1 < M2 1-[Sig(2-tailed)/2] Sig(2-tailed)/2 H1 : M1 > M2 BC428 : Research in Business Computer

Analyze  Nonparametric Tests  2 Independent Samples… Data11_2.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. นักร้องที่ต้องการโหวต  Anny  Sara 2. คะแนนโหวต (0 – 10) ........................... คะแนน ทดสอบว่า Anny ร้องเพลงได้คะแนนโหวตดีกว่า Sara จริงหรือไม่ คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  2 Independent Samples… BC428 : Research in Business Computer

BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบสมมติฐาน 1. Ho : Anny ได้คะแนนโหวตในการประกวดร้องเพลงไม่มากกว่า Sara H1 : Anny ได้คะแนนโหวตในการประกวดร้องเพลงมากกว่า Sara 2. สถิติทดสอบ คือ Z = -2.098 3. ค่า Sig (2-tailed) = 0.036 เนื่องจากสมมติฐานเป็น 1-tailed ซึ่ง ค่า Sig ที่ได้จากการคำนวณใหม่ มีค่าเป็น Sig(1-tailed) = 1 - 0.036/2 = 1 – 0.018 = 0.982 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ Anny ได้คะแนนโหวตในการประกวดร้องเพลงไม่มากกว่า Sara ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ คะแนนโหวต N ค่าเฉลี่ยอันดับ Z Sig. Anny 8 7.19 -2.098 0.982 Sara 12 12.71 จากตารางแสดงการวิเคราะห์ผลโหวตของนักร้อง พบว่า นักร้อง Anny ร้องเพลงได้ไม่ดีกว่า Sara ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.982 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบกรณีที่ประชากร 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน ลักษณะข้อมูลจะเป็นข้อมูลแบบคู่(Paired Data) ใช้สถิติทดสอบของวิลคอกซัน(Wilcoxon Test) คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  2 Related Samples BC428 : Research in Business Computer

ค่า Sig ที่แท้จริง(กรณี 1-tailed test) เมื่อค่า Z เป็น บวก เมื่อค่า Z เป็น ลบ H1 : M1 < M2 1-[Sig(2-tailed)/2] Sig(2-tailed)/2 H1 : M1 > M2 BC428 : Research in Business Computer

ต้องการทดสอบว่าน้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักแตกต่างกันหรือไม่ Data11_3.sav คู่ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 แฝดพี่ 49.3 95 46 86 43 54.6 57 44 56 แฝดน้อง 48 90 40 56.5 60 40.8 89.7 ต้องการทดสอบว่าน้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักแตกต่างกันหรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

Wilcoxon Signed Ranks Test NPar Tests Wilcoxon Signed Ranks Test BC428 : Research in Business Computer

1. Ho : น้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักไม่แตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ Z = -0.102 ค่า Sig = 0.919 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ น้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ น้ำหนัก N SD Z Sig. แฝดพี่ 10 61.69 19.60 -0.102 0.919 แฝดน้อง 61.50 21.04 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างของน้ำหนักของฝาแฝด พบว่า น้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักไม่แตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.919 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

Quiz 5 นาที หยิบกระดาษขึ้นมาคนละ 1 แผ่น ลองทดสอบว่า IQ ของ แฝดพี่มากกว่าแฝดน้อยหรือไม่ ให้เวลาคิดและทดสอบสมมติฐาน Quiz 5 นาที BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบความแตกต่างของค่ากลางประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม การทดสอบแบ่งเป็น 2 กรณีคือ - กรณีที่ประชากร k กลุ่มเป็นอิสระกัน - กรณีที่ประชากร k กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน BC428 : Research in Business Computer

กรณีที่ประชากร k กลุ่มเป็นอิสระกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบมีมากกว่า 2 กลุ่ม ใช้สถิติทดสอบของคัสคอล วอลลิส เอช (Kruskal Wallis H Test) สมมติฐานที่ใช้สำหรับการทดสอบ คือ H0 : ค่ากลางของประชากรทั้ง k กลุ่มไม่แตกต่างกัน H1 : มีค่ากลางอย่างน้อย 2 กลุ่มที่มีความแตกต่างกัน BC428 : Research in Business Computer

ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. อาชีพ Data11_4.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. อาชีพ  นักเรียน  ข้าราชการ  พนักงานบริษัท 2. ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์แต่ละครั้ง ............ นาที ต้องการทดสอบว่าระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์ของทั้ง 3 อาชีพมีความแตกต่างกันหรือไม่ คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  k Independent Samples… BC428 : Research in Business Computer

NPar Tests Kruskal-Wallis Test BC428 : Research in Business Computer

1. Ho : ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์ของทั้ง 3 อาชีพไม่แตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ Chi-Square = 6.632 ค่า Sig = 0.036 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig <  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ มีอย่างน้อย 2 อาชีพที่ใช้ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์ ผลการวิเคราะห์ ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์ N ค่าเฉลี่ยอันดับ Chi-Square Sig. นักเรียน 7 16.36 6.632 0.036 ข้าราชการ 8 8.00 พนักงานบริษัท 10.64 จากตารางแสดงการวิเคราะห์ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์โดยจำแนกตามอาชีพ พบว่า มีอย่างน้อย 2 อาชีพที่ใช้ระยะเวลาการใช้โทรศัพท์แต่ละครั้งแตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.036 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

กรณีที่ประชากร k กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบมีมากกว่า 2 กลุ่ม มีปัจจัยในการควบคุมข้อมูลให้มีความเกี่ยวข้องกัน คล้ายกับการทดสอบTwo-way ANOVA ใช้สถิติทดสอบของฟรีดแมน (FriedmanTest) BC428 : Research in Business Computer

สมมติฐานที่ใช้สำหรับการทดสอบ คือ H0 : ค่ากลางของประชากรทั้ง k กลุ่มไม่แตกต่างกัน H1 : มีค่ากลางอย่างน้อย 2 กลุ่มที่มีความแตกต่างกัน คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  k Related Samples… BC428 : Research in Business Computer

ระดับความชอบ(1- 5 คะแนน) Data11_5.sav ต้องการทดสอบว่า ระดับคะแนนความชื่นชอบในกาแฟ 4 ชนิดแตกต่างกันหรือไม่ นักดื่ม ระดับความชอบ(1- 5 คะแนน) เอสเพรสโซ่ คาปูชิโน ลาเต้ มอคค่า 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 BC428 : Research in Business Computer

NPar Tests Friedman Test BC428 : Research in Business Computer

1. Ho : ระดับคะแนนความชื่นชอบในกาแฟ 4 ชนิด ไม่แตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ Chi-Square = 0.628 ค่า Sig = 0.890 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ระดับคะแนนความชื่นชอบในกาแฟ 4 ชนิด ไม่แตกต่าง ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ คะแนนความชอบ N SD Chi-Square Sig. เอสเพรสโซ 10 3.20 1.317 0.628 0.890 คาปูชิโน 3.30 1.160 ลาเต้ 3.10 1.101 มอคค่า 0.738 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างของคะแนนความชอบกาแฟทั้ง 4 ชนิด พบว่า ระดับคะแนนความชอบในกาแฟทั้ง 4 ชนิดไม่แตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.890 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

อ่านหนังสือด้วยเผื่อ Quiz คราวหน้า การบ้านท้ายบทที่ 11 อ่านหนังสือด้วยเผื่อ Quiz คราวหน้า BC428 : Research in Business Computer