การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา
การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
T-Test compare with mean Independent Paired
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การทดสอบสมมติฐาน
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การศึกษาความพึงพอใจของ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
Extra_08_Test_Modular_Calculator
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
การลงข้อมูลแผนการสอน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร บทที่ 8 การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร BC428 : Research in Business Computer

สถิติเชิงอนุมาน การประมาณค่าพารามิเตอร์สำหรับประชากร การทดสอบสมมติฐาน BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบค่าเฉลี่ย สำหรับประชากร 1 กลุ่ม สมมติฐาน แบบที่ 1 H0:  =  และ H1 :    แบบที่ 2 H0:    และ H1 :    แบบที่ 3 H0:    และ H1 :    BC428 : Research in Business Computer

ข้อตกลงก่อนการทดสอบค่าเฉลี่ย ประชากรจะต้องมีการแจกแจงแบบปกติ หรือขนาดตัวอย่างที่สุ่มมามีจำนวนมากกว่า 30 ค่า ข้อมูลจะต้องเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ (โดยข้อตกลงข้อนี้ไม่จำเป็นต้องทดสอบ) BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบการแจกแจงแบบปกติ ของประชากร 1 กลุ่ม สมมติฐาน H0 : ข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ H1 : ข้อมูลไม่มีการแจกแจงแบบปกติ BC428 : Research in Business Computer

Data8_1.sav EXปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ของกลุ่มตัวอย่าง(วัน/สัปดาห์) ว่ามีการแจกแจงแบบปกติหรือไม่ คำถาม ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ ............................ วัน/สัปดาห์ คำสั่ง Analyze Descriptive Statistics  Explore… BC428 : Research in Business Computer

Explore ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานได้ ดังนี้ Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์มีการแจกแจงแบบปกติ H1 : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ไม่มีการแจกแจงแบบปกติ 2. สถิติทดสอบ คือ Shapiro-Wilk = 0.943 3. ค่า Sig = 0.272 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์มีการแจกแจงแบบปกติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

เขียนผลการวิเคราะห์ จากการวิเคราะห์ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ พบว่า ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์มีการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.272 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ข้อมูลไม่มีการแจกแจงแบบปกติ จะต้องใช้สถิติแบบนอนพาราเมตริก Data8_2.sav Ex ต้องการปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์(ตัวแปร Freq) ของกลุ่มตัวอย่าง (วัน/สัปดาห์) ว่ามีการแจกแจงแบบปกติหรือไม่ ข้อมูลไม่มีการแจกแจงแบบปกติ จะต้องใช้สถิติแบบนอนพาราเมตริก BC428 : Research in Business Computer

กรณีที่ข้อมูลมีจำนวนมาก Example.sav ข้อมูลชุดนี้สามารถนำไปวิเคราะห์สถิติแบบพาราเมตริกได้ต่อ เนื่องจากจำข้อมูลที่เก็บมามีจำนวนมาก ถือได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่ BC428 : Research in Business Computer

วิธีการทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร 1 กลุ่ม จะทดสอบเมื่อผ่านข้อตกลงข้อที่ 1 เรียบร้อยแล้ว คำสั่ง Analyze  Compare Means  One Sample T Test… BC428 : Research in Business Computer

การวิเคราะห์ผลกรณีที่เป็น 1 tailed test ค่า Sig ที่แท้จริง(กรณี 1-tailed test) เมื่อค่า t เป็น บวก เมื่อค่า t เป็น ลบ H1 :  < θ 1-[Sig(2-tailed)/2] Sig(2-tailed)/2 H1 :  > θ BC428 : Research in Business Computer

ประมาณค่าแบบช่วงของค่าเฉลี่ยของประชากรได้ ดังนี้คือ T-Test Example.sav ประมาณค่าแบบช่วงของค่าเฉลี่ยของประชากรได้ ดังนี้คือ 0.33 < -5 < 0.84 0.33+5 <  < 0.84 + 5 5.33 <  < 5.84 หมายความว่า ค่าประมาณแบบช่วงของค่าเฉลี่ยของประชากรอยู่ระหว่าง 5.33 กับ 5.84 ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95% BC428 : Research in Business Computer

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานได้ ดังนี้ 1. Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์เฉลี่ยเท่ากับ 5 วันต่อสัปดาห์ H1 : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์เฉลี่ยไม่เท่ากับ 5 วันต่อสัปดาห์ 2. สถิติทดสอบ คือ t-Test = 4.562 3. ค่า Sig = 0.000 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig<  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์เฉลี่ยไม่เท่ากับ 5 วันต่อสัปดาห์ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ ตัวแปร N SD t Sig. ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ 99 5.59 1.278 4.562 0.000 Test value = 5 จากตารางแสดงปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ พบว่า ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ไม่เท่ากับ 5 วันต่อสัปดาห์ ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.000 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และ ค่าประมาณแบบช่วงของค่าเฉลี่ยของประชากรอยู่ระหว่าง 5.33 กับ 5.84 ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95% BC428 : Research in Business Computer

Example.sav Ex ต้องการทดสอบว่า ปริมาณการใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์(ตัวแปร Freq2)มากกว่า 5 วัน หรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 1. Ho : ปริมาณการใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ไม่มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ H1 : ปริมาณการใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์เฉลี่ยมากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ 2. สถิติทดสอบ คือ t-Test = -2.355 3. ค่า Sig(2-tailed) = 0.021 เนื่องจากสมมติฐานเป็น 1-tailed ซึ่ง ค่า Sig ที่ได้จากการคำนวณ ใหม่ มีค่าเป็น Sig(1-tailed)= 1- (0.021/2) = 1-0.0105 = 0.9895 4.ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5.ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์เฉลี่ยไม่มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบค่าเฉลี่ยสำหรับ ประชากร 2 กลุ่ม กรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน(Independent Sample) กรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน (Dependent Sample) BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน การทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน สมมติฐาน แบบที่ 1 Ho: 1 = 2 และ H1 : 1  2 แบบที่ 2 Ho: 1  2 และ H1 : 1  2 แบบที่ 3 Ho: 1  2 และ H1 : 1  2 BC428 : Research in Business Computer

ทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกันจะต้องตรวจสอบข้อตกลง 3 ข้อ ประชากรทั้งสองกลุ่มจะต้องมีการแจกแจงแบบปกติ หรือขนาดตัวอย่างที่สุ่มแต่ละกลุ่มมีจำนวนมากกว่า 30 ค่า ข้อมูลจะต้องเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ ทดสอบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่มว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

1. การทดสอบการแจกแจงแบบปกติกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน Data8_2.sav 1. การทดสอบการแจกแจงแบบปกติกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน Ex เป็นการทดสอบปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์(ตัวแปร Freq1)ของกลุ่มตัวอย่าง(วัน/สัปดาห์) โดยจำแนกตามเพศ(ตัวแปร Sex) ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. เพศ  ชาย  หญิง 2. ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ ............................ วัน/สัปดาห์ คำสั่ง Analyze Descriptive Statistics  Explore… BC428 : Research in Business Computer

1.Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศชายมีการแจกแจงแบบปกติ เมื่อจำแนกตามเพศชาย 1.Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศชายมีการแจกแจงแบบปกติ H1 : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศชายไม่มีการแจกแจงแบบปกติ 2.สถิติทดสอบ คือ Shapiro-Wilk = 0.936 3.ค่า Sig = 0.603 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 4.ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศชายมีการแจกแจงแบบปกติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 เมื่อจำแนกตามเพศหญิง 1.Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศหญิงมีการแจกแจงแบบปกติ H1 : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศหญิงไม่มีการแจกแจงแบบปกติ 2.สถิติทดสอบ คือ Shapiro-Wilk = 0.917 3.ค่า Sig = 0.227 4.ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5.ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศหญิงมีการแจกแจงแบบปกติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ จากการวิเคราะห์ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์เมื่อจำแนกตามเพศ พบว่า ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ทั้งเพศชายและเพศหญิงมีการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบเมื่อจำแนกตามเพศชายมีค่าเท่ากับ 0.603 และเพศหญิงมีค่าเท่ากับ 0.227 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ตัวอย่างที่ 8.7 อ่านเองนะค่ะ BC428 : Research in Business Computer

2.วิธีการทดสอบค่าเฉลี่ยกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน สมมติฐานสำหรับการทดสอบความแปรปรวน H0 : ความแปรปรวนของประชากร 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน ( ) H1 : ความแปรปรวนของประชากร 2 กลุ่มแตกต่างกัน ( ) คำสั่ง Analyze  Compare Means  2 Independent-Samples T Test… BC428 : Research in Business Computer

Ex ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์ผลิตสื่อการสอนต่อสัปดาห์(ตัวแปร Freq3) ระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิต มีความแตกต่างกันหรือไม่ Example.sav BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบความแปรปรวนของ ประชากร 2 กลุ่ม 1. Ho : ความแปรปรวนของปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตไม่แตกต่างกัน H1 : ความแปรปรวนของปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตแตกต่างกัน 2. สถิติทดสอบ คือ F =7.063 3. ค่า Sig = 0.009 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig<  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ ความแปรปรวนของปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม 1. Ho : ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนเฉลี่ยระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตไม่แตกต่างกัน H1 : ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนเฉลี่ยระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตแตกต่างกัน 2. สถิติทดสอบ คือ t =1.326 3.ค่า Sig = 0.188 4.ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5.ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนเฉลี่ยระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนต่อสัปดาห์ จำแนกตามวิทยาเขต ผลการวิเคราะห์ ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนต่อสัปดาห์ จำแนกตามวิทยาเขต N SD t Sig. วิทยาเขตกล้วยน้ำไท 41 5.24 1.356 1.326 0.188 วิทยาเขตรังสิต 55 4.78 2.052 F=7.063; Sig of F=0.009 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนต่อสัปดาห์จำแนกตามวิทยาเขตพบว่า วิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตมีปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนเฉลี่ยต่อสัปดาห์ไม่แตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.188 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ตัวอย่างที่ 8.9 อ่านเองค่ะ BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน การทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน สมมติฐาน แบบที่ 1 Ho: d = 0 และ H1 : d  0 แบบที่ 2 Ho: d  0 และ H1 : d  0 แบบที่ 3 Ho: d  0 และ H1 : d  0 BC428 : Research in Business Computer

Analyze  Compare Means  Paired-Samples T test… Ex คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมแตกต่างกันหรือไม่ คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Pretest 12 18 16 17 20 15 13 Posttest 14 19 คำสั่ง Analyze  Compare Means  Paired-Samples T test… BC428 : Research in Business Computer

Data8_10.sav BC428 : Research in Business Computer

ทดสอบสมมติฐาน Ho : คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมไม่แตกต่างกัน H1 : คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมแตกต่างกัน 2. สถิติทดสอบ คือ t = -0.404 3. ค่า Sig = 0.696 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

คะแนนสอบการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรม ผลการวิเคราะห์ คะแนนสอบการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรม N SD t Sig. คะแนนสอบก่อนการเรียน 10 15.20 3.190 -0.404 0.696 คะแนนสอบหลังการเรียน 15.60 3.471 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างของคะแนนสอบก่อนและหลังการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรม พบว่า คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมไม่แตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.696 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

Data8_11.sav Ex ต้องการทดสอบไอคิวของฝาแฝด โดยเก็บข้อมูลทั้งหมด 13 คน เพื่อทดสอบว่าไอคิวของแฝดพี่จะน้อยกว่าไอคิวของแฝดน้องจริงหรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบสมมติฐาน 1. Ho : ไอคิดของแฝดพี่ไม่น้อยกว่าไอคิวของแฝดน้อง 2. สถิติทดสอบ คือ t = -1.399 3. ค่า Sig = 0.187 / 2 = 0.0935 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ไอคิวของแฝดพี่ไม่น้อยกว่าไอคิวของแฝดน้อง ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ ระดับไอคิวฝาแฝด N SD t Sig. ไอคิวแฝดพี่ 13 126.54 17.723 -1.399 0.0935 ไอคิวแฝดน้อง 134.15 18.429 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์ไอคิวระหว่างแฝดพี่และแฝดน้อง ไอคิวของแฝดพี่ไม่น้อยกว่าไอคิวของแฝด ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.0935 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

การบ้านท้ายบท ไม่ต้องส่งค่ะ BC428 : Research in Business Computer

จบ Midterm แล้ว BC428 : Research in Business Computer