ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting)
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
การประยุกต์ 1. Utility function
Group 1 Proundly Present
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
มาตรการรองรับ ราคาน้ำมันแพง
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
Location Problem.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
ภาษี ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 1 1.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สวัสดิการที่เกิดจากข้อตกลงร่วมกับบริษัทฯ รายละเอียดตามข้อตกลง
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาด ( MARKET ).
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ) 1

OPEC เป็น cartel แต่ยังมีผู้ผลิตและส่งออกรายอื่นๆ ด้วย อำนาจเหนือตลาด (monopoly power) ของ OPEC ทำให้ OPEC สามารถเป็นผู้นำทางราคา (price leader) 129 2

แบบจำลองผู้นำทางราคา ( Price Leadership Model ) ข้อสมมติ OPEC เป็นผู้ผลิตรายใหญ่เพียงกลุ่มเดียว ที่เหลือเป็นรายเล็กๆ ผู้ผลิตรายใหญ่นี้เป็น “Dominant Firm”

แบบจำลองผู้นำทางราคา ( Price Leadership Model ) ข้อสมมติ รายใหญ่เป็นผู้ตั้งราคา ( Price Leader) รายเล็กเป็นผู้ตาม (Price Taker) อุปสงค์ของรายใหญ่ คือ อุปสงค์ส่วนที่เหลือจากการหักอุปทานของหน่วยผลิตรายเล็กออกจากอุปสงค์รวม

ดุลยภาพของหน่วยผลิต ตามแบบจำลองผู้นำทางราคา บรรดารายเล็ก หน่วยผลิตผู้นำ ราคา Q ราคา Q P1 a b MC P2 a b P* P* d c c d D = AR D QS QT QD MR

แบบจำลองกลุ่มผูกขาด ( Cartel ) Centralized Cartel กลุ่มผูกขาดแบบรวมศูนย์ กลุ่มที่ร่วมมืออย่างเป็นทางการ เพื่อร่วมกันกำหนดปริมาณการผลิต หรือระดับราคาสินค้าที่กลุ่มจะขาย

แบบจำลอง Centralized Cartel ผู้ผลิต B กลุ่ม Cartel รายรับ , ต้นทุน Q บาท Q บาท Q MCA MCB ACA ACB P* P* R DC MRC QA QB QT

แบบจำลอง Centralized Cartel ผู้ผลิต B กลุ่ม Cartel รายรับ , ต้นทุน Q บาท Q บาท Q MCA MCB ACA ACB P* P* R DC MRC QA QB QT มีแรงจูงใจที่จะผลิตเกินโควต้า (โกง)

Cartels – เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ(Conditions for Success) การจัดตั้งกลุ่มคาร์เทลที่มีเสถียรภาพ สามารถกำหนดราคา/ปริมาณการผลิต และ รักษาข้อตกลงร่วมกัน แต่ สมาชิกแต่ละคนมีต้นทุน เป้าหมาย และ สภาพการประเมินอุปสงค์ตลาดที่ต่างกัน P > MC --> มีแรงจูงใจที่จะบิดพลิ้ว โดยการลดราคา/ขยายการผลิต 119

Cartels – เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ(Conditions for Success) 2. ศักยภาพในการสร้างอำนาจผูกขาด ถ้าผลตอบแทนจากการฮั้วมีสูง สมาชิกก็จะมีแรงจูงใจในการรวมกลุ่มกัน อุปสงค์ของกลุ่มคาร์เทลมีความยืดหยุ่นต่ำ อุปสงค์รวมมีความยืดหยุ่นต่ำ กลุ่มคาร์เทลสามารถควบคุม supply ได้เกือบทั้งหมด หรือ อุปทานของผู้ผลิตนอกกลุ่มมีความยืดหยุ่นต่ำ 119

กรณี Oil Cartel ของ OPEC TD SR MCOPEC Price POPEC QR QOPEC QT DOPEC Pc MROPEC Quantity 124

กรณี Cartel ของแร่ทองแดง (CIPEC) Price TD TD และ SR ค่อนข้างจะยืดหยุ่น DCIPEC ยืดหยุ่นสูง CIPECมีอำนาจผูกขาดต่ำ PCIPEC ใกล้เคียงกับ PC SR MCCIPEC MRCIPEC DCIPEC QCIPEC PCIPEC PC QR QT Quantity 130

ตั้งแต่ปี 2003 เป็นต้นมา น้ำมันแพงขึ้นอีกอย่างต่อเนื่องจากประมาณ $20-$30 ต่อบาเรล มากลายเป็นกว่า $100 ต่อบาเรล ในปี 2008 โดยมีหลายสาเหตุ (ทั้ง demand and supply): 129 13

การผลิต (supply): OPEC มีกำลังผลิตส่วนเกินลดลง 11 ล้านบาเรลต่อวันใน ค.ศ. 1985 3 – 4 ล้านบาเรลต่อวันใน ค.ศ. 1995 1 ล้านบาเรลต่อวันใน ค.ศ. 2006 และมี “ความเสี่ยง” ในหลายประเทศ เช่น อิรัค ไนจีเรีย และเวเนซูเอลา 129 14

ความอ่อนไหวในกำลังผลิต (supply disruptions): โรงกลั่นน้ำมันในสหรัฐฯ ไม่ขยายกำลังผลิต ต้องนำเข้าน้ำมันสุกเมื่อโรงกลั่นมีปัญหา ความอ่อนไหวในกำลังผลิต (supply disruptions): ภัยธรรมชาติ เช่น พายุเฮอริเคนในอ่าวเม็กซิโก คนงานสไตรค์บนแท่นขุดเจาะน้ำมัน 129 16

ความต้องการ (demand): ประเทศอุตสาหกรรมมีการใช้น้ำมันอย่างเข้มข้นน้อยลงมากแล้ว ทำให้ลดการใช้น้ำมันทำได้น้อยลงเมื่อน้ำมันแพงขึ้น 129 17

เงินดอลลาร์อ่อนค่า OPEC เพิ่มราคาเพื่อรักษากำลังซื้อ เงินกองทุนหันมาเก็งกำไรในน้ำมัน 129 18

จะแพงขึ้นอีกไหม? ใน 1-2 ปีข้างหน้า ปัจจัยพื้นฐานน่าจะทำให้ราคาอ่อนตัว แต่การเก็งกำไร และความเสี่ยงด้าน supply disruptions ยังมีน้ำหนัก ในระยะยาว ไม่มีน้ำมันราคาถูกอีกแล้ว 129 19

อนาคตของ OPEC อำนาจผูกขาดของ OPEC ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่มีผลต่อความยืดหยุ่นของ demand and supply สำหรับน้ำมัน 119

อนาคตของ OPEC DO คือ demand สำหรับน้ำมันจาก OPEC DM คือ demand ทั้งหมดสำหรับน้ำมัน SN คือ supply ของน้ำมันจาก nonOPEC 119

อนาคตของ OPEC 119

อนาคตของ OPEC หารด้วย dP/P 119

อนาคตของ OPEC คูณด้วย -1 119

อนาคตของ OPEC 119

อนาคตของ OPEC น้ำมันจาก OPEC มีความยืดหยุ่นต่ำลงด้วย eM D และ eNS ที่มีค่าต่ำลง ทำให้ demand สำหรับ น้ำมันจาก OPEC มีความยืดหยุ่นต่ำลงด้วย และอำนาจผูกขาดของ OPEC สูงขึ้น 119

อนาคตของ OPEC น้ำมันจาก OPEC มีความยืดหยุ่นต่ำลง OPEC Share ที่สูงขึ้น ทำให้ demand สำหรับ น้ำมันจาก OPEC มีความยืดหยุ่นต่ำลง และอำนาจผูกขาดของ OPEC สูงขึ้น 119

อนาคตของ OPEC Demand elasticity: พลังงานทดแทนใช้ในการขนส่ง เช่น biofuels NG รถไฟฟ้า คาดว่าจะสำคัญใน 5-10 ปีข้างหน้า Demand growth: การเติบโตของเศรษฐกิจในจีน อินเดีย (+ บราซิล รัสเซีย) BRIC 119

อนาคตของ OPEC Supply from non-OPEC: รัสเซีย และ unconventional oil (ทรายน้ำมันในแคนาดา) อาจลดสัดส่วนของ OPEC ในช่วง 10-20 ปีหน้า 119

อนาคตของ OPEC Supply from non-OPEC: แต่ในระยะยาวเกิน 20 ปี สัดส่วนของ OPEC จะสูงขึ้นอีก (r-p ratio 70 ปี เทียบกับ 20 ปี) จำนวนสมาชิกอาจเปลี่ยนไป มีทั้งออกและเข้าใหม่ 119