วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Chapter 2 Root of Nonlinear Functions
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรลบแรงดัน (1).
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
รอยต่อ pn.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
Bipolar Junction Transistor
Biomedical Electronics Biomedical Amplifiers
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
Training Management Trainee
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 2 z-Transform.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
ระบบอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การหาคุณลักษณะพิเศษของตัวอักษร
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
Second-Order Circuits
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
สรุปการปฏิบัติงาน มิถุนายน 2555
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
Engineering Electronics อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม กลุ่ม 4
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Electronic Circuits Design
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
Electronic Circuits Design
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ บทที่ 7 วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ วงจรเรียงสัญญาณความแม่นยำสูง วงจรปรับอัตราขยายอัตโนมัติ ออปแอมป์ที่มีการป้อนกลับแบบบวก วงจรชมิตต์ทริกเกอร์ วงจรกำเนิดสัญญาณสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยม วงจรกำเนิดสัญญาณรูปซายน์

“Super Diode”

High-Precision Recifiter เมื่อ vI < 0 ไดโอดจะ off (เพราะถ้าไดโอด on จะทำให้ vO ~ vI < 0 และเกิดกระแส iD = iR < 0 ซึ่ง เป็นไปไม่ได้) ทำให้ vO = 0 และ vX = AvI < 0 ( A คือ อัตราขยายแบบไม่มีการป้อนกลับของออปแอมป์) จนกระทั่งเมื่อ vI = 0.7/A (ซึ่งมีค่าเพียงไม่กี่มิลลิโวลต์) จะทำให้ vX = 0.7 V และส่งผลให้ไดโอดเริ่ม on ต่อจากนี้ ถ้าเราเพิ่ม vI ต่อไปเรื่อย ๆ ไดโอดก็จะยังคง on ต่อไปและทำให้ vO ~ vI

กราฟถ่ายโอนแรงดันของวงจรเรียงสัญญาณ “ความแม่นยำสูง”

Automatic Gain Control (AGC) Circuit “วงจรปรับอัตราขยายอัตโนมัติ” วงจรขยายสัญญาณที่มีอัตราขยายเปลี่ยน ไปตามขนาดของแรงดันอินพุต “ที่มีขนาดใหญ่”

เมื่อแยกให้เห็น “ส่วนขยาย” AGC Circuit เมื่อแยกให้เห็น “ส่วนขยาย” และ “ส่วนควบคุม (ในเส้นประ)”

วงจร AGC เดิม เมื่อตัดไดโอดออกไป

กราฟถ่ายโอนแรงดันของวงจรก่อนหน้า (ซึ่งตัดไดโอดออกไป)

กราฟถ่ายโอนแรงดันของวงจร AGC (ซึ่งรวมผลจากไดโอด)

ตัวอย่างสัญญาณด้านออก (เส้นทึบ) ของวงจร AGC เมื่อสัญญาณด้านเข้าเป็นสัญญาณรูปสามเหลี่ยม (เส้นประ)

Op Amp with positive feedback ออปแอมป์ที่มีการป้อนกลับแบบบวก กราฟถ่ายโอนแรงดันของออปแอมป์ “ในขณะที่ยังไม่มีการป้อนกลับ”

Op Amp with positive feedback

ทวิเสถียร Bistability เอกเสถียร Monostability

Schmitt-Trigger (Bistable Multibrator) BVOH BVOL

Non-Inverting Bistable Multivibrator วงจรชมิตต์ทริกเกอร์แบบ “ไม่” กลับเฟส

“Astable” Multivibrator Square/Triangular Wave Generator วงจรกำเนิดสัญญาณรูปสี่เหลี่ยมและรูปสามเหลี่ยม วงจร Astable Multivibrator อันสร้างจาก “วงจรชมิตต์ทริกเกอร์แบบไม่กลับเฟส” กับ “วงจรอินทิเกรเตอร์แบบกลับเฟส” โดยสัญญาณ v2 ถูก “ป้อนกลับแบบบวก” ไปยังจุดสัญญาณเข้าของชมิตต์ทริกเกอร์

ถ้า VOH = -VOL

วงจรกำเนิดสัญญาณรูปสี่เหลี่ยม โดยที่

Positive Feedback and Oscillators

เงื่อนไขการออสซิลเลต LG(s) = A(s)B(s) เงื่อนไขการออสซิลเลต

Wein-Bridge OSC

Wein-Bridge OSC จะเห็นได้ว่า ถ้า

Phase Shift OSC a b เมื่อ feedback loop ถูกเปิดออก Transfer Function จากจุด a ไปยังจุด b จะเป็นแบบ Highpass โดย phaseshift ของสัญญาณทั้งสองจุดจะต่างกัน 270o ที่ความถี่ต่ำ ๆ และจะลดลงเรื่อย ๆ จนเข้าสู่ศนย์ที่ความถี่สูง วงจร OSC แบบนี้จะถูกออกแบบให้การออสซิลเลตเกิดขึ้นที่ความถี่ที่ phaseshift ระหว่างสัญญาณจุด a และ b เท่ากับ 180o

Phase Shift OSC

Phase Shift OSC

แนวข้อสอบปลายภาค 1 วงจรขยาย BJT แบบจำลอง หาค่าพารามิเตอร์ หาค่าอัตราขยาย 2. MOSFET ลักษณะการทำงานของ MOSFET ในสภาวะต่างๆ โครงสร้างทางฟิสิกส์ 3. วงจรไบแอส MOSFET หาจุดทำงานไฟตรง คำนวณหาค่า R ในวงจร 4. วงจร OP-AMP เชิงเส้น คุณสมบัติความไม่เป็นอุดมคติ กราฟคุณลักษณะถ่ายโอนทางไฟตรง อัตราขยาย วาดรูปสัญญาณ 5. วงจร OP-AMP ไม่เชิงเส้น Schmitt triger (VOH, VIH,VOL,VIL) Integrator () วาดรูปสัญญาณ