คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรลบแรงดัน (1).
รอยต่อ pn.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
Bipolar Junction Transistor
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
หม้อแปลง.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
โฟโตไดโอด (PHOTODIODE)
คือ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
เจเฟต Junction Field-effect transistor
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
เตาไฟฟ้า.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เครื่องปิ้งขนมปัง.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
Magnetic Particle Testing
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
1. Sequential Circuit and Application
อิเล็กทรอนิกส์แบบพิมพ์ได้
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า

คอยล์ ( coil ) ใช้สัญลักษณ์ แทนด้วยตัวอักษร L เป็นอุปกรณ์ที่ประหลาดมาก คือ ดูเหมือนจะทำง่ายที่สุด และดูแล้วก็แทบจะไม่มีอะไรเลย เป็นแค่ลวดพันเป็นวงๆ บนแกนกระดาษบ้าง บนแกนเหล็กบ้าง แกนเหล็กที่ผสมเป็นพิเศษที่เรียกว่าแกน เฟอร์ไรท์ บ้างแค่นั้นเองแต่กลับมีคุณสมบัติที่ไม่น่าเชื่อ นั่นก็คือ

คุณสมบัติของคอยล์ 1.เป็นตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้าได้ดี 2. มีคุณสมบัติเป็นศัตรูกับความถี่บางความถี่ ค่าของ L ขึ้นอยู่กับจำนวนรอบของขดลวดที่พัน และความยาวของ L ลวดที่ที่ใช้พันคอยล์นั้นเป็นลวดที่มีขนาดต่างๆกัน เรียกเป็นเบอร์ เบอร์มากๆลวดจะเล็ก เบอร์น้อยๆลวดจะโต คอยล์มี 2 พวก พวกหนึ่งพันบนแกนเหล็ก อีกพวกหนึ่งพันบนแกนอื่นๆที่ไม่ใช่แกนเหล็ก พวกหลังๆ นี้เราเรียกรวมกันว่าแกนอากาศ คอยล์ขนาดเดียวกัน ถ้าใส่แกนเหล็กเข้าไป ค่าของมันจะผิดไป คือจะมีค่ามากขึ้น ดังนั้นเราจึงสามารถปรับค่าของคอยล์ได้โดยขยับแกนเหล็ก เข้า-ออก

ลักษณะของ coil The Toroidal Coil The Solinoid Coil

สัญลักษณ์ ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า ของ coil แบบต่างๆ

ไดโอด ( diode )   ไดโอดเป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่เก่าแก่มากชิ้นหนึ่ง สร้างมาจากสารกึ่งตัวนำชนิด เยอรมันเนี่ยม หรือซิลิคอน ซึ่งในทางอุดมคติแล้วไดโอดจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ทางเดียว เท่านั้นกระแสจะไหลย้อนกลับไม่ได้สัญลักษณ์ของไดโอดในอุดมคติ จะแสดงเป็นรูปลูกศรโดยจะมีทิศทางในการไหลของกระแสตามสัญลักษณ์ชี้ของลูกศร

เมื่อป้อนไฟ + ไดโอด จะเปรียบเสมือน short circuit เมื่อป้อนไฟ (-) ไดโอด จะเปรียบเสมือน open circuit สังเกตที่กราฟ

ซีเนอร์ไดโอด โดยพื้นฐานแล้วซีเนอร์ไดโอดจะมีคุณสมบัติทุกอย่างเหมือนไดโอดปกตินั่นคือจะนำกระแสเมื่อมีการไบอัสเดินหน้าแต่ในกรณีป้อนแรงดันย้อนกลับซีเนอร์ไดโอดจะมีคุณสมบัติที่เหมือนกับไดโอดปกติเมื่อแรงดันย้อนกลับไม่เกิน vZ ซึ่งเป็นการคงค่าแรงดันของซีเนอร์นั้นเนื่องจากถ้าแรงดันย้อนกลับมีค่าถึงแรงดัน vZ ซีเนอร์ไดโอดจะนำกระแส

ค่าแรงดันซีเนอร์ที่มีการผลิตออกมาจะมีค่าตั้งแต่ 1 ค่าแรงดันซีเนอร์ที่มีการผลิตออกมาจะมีค่าตั้งแต่ 1.8-200 V โดยมีอัตรากำลังอยู่ระหว่าง 1/4 - 50 W

The End