เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ
Advertisements

สารชีวโมเลกุล : โปรตีน
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
Leaf Monocots Dicots.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ของส่วนประกอบของเซลล์
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
Group Acraniata (Protochordata)
Basic principle in neuroanatomy
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
Cell Specialization.
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
ระบบประสาท (Nervous System)
โพรโทซัว( Protozoa ).
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
Fiber Crops (พืชเส้นใย)
การจัดระบบในร่างกาย.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การจำแนกพืช.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ความหลากหลายของพืช.
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
คือ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถอธิบาย
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การออกแบบการเรียนรู้
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
การหักเหของแสง (Refraction)
จัดทำโดย นางสาวปิยะธิดา เยาว ลักษณ์โยธิน
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
HOME PAGE.
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ เสนอ ครู ภัทรศยา เย็นเมือง โดย เด็กหญิง อนุสรา เนตรเจริญ เด็กหญิง ดาวเรือง ดับโศรก เด็กชาย อนุวัฒน์ นูแป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
Kingdom Plantae.
โครงสร้างของภาษา HTML
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม.
ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท

จุดประสงค์การเรียนรู้ ระบุส่วนประกอบ และหน้าที่ของส่วนต่างๆ ของเซลล์ประสาทได้ 2. บอกชนิดของเซลล์ประสาทได้ 3. บอกเกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกประเภทของเซลล์ประสาทได้ 4. จำแนกประเภทของเซลล์ประสาทได้

โครงสร้างของเซลล์ประสาท เซลล์ประสาทเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบประสาทที่สามารถทำงานได้ เจริญเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นเอกโทเดิร์ม

ส่วนประกอบของเซลล์ประสาท เซลล์ประสาทประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 2 ส่วน คือ 1. ตัวเซลล์ประสาท ( cell body) ประกอบด้วยนิวเคลียสและไซโทพลาซึม 2. ใยประสาท (nerve fiber) เป็นส่วนของไซโทพลาซึมของเซลล์ที่ยื่นออกมาจากตัวเซลล์ เซลล์ประสาท (Martini และ Timmons, 1997)

ใยประสาทแบ่งออกเป็น 2 พวก คือ ใยประสาทแบ่งออกเป็น 2 พวก คือ เดนไดรต์(dendrite) 2. แอกซอน (axon)

การเกิดเยื่อไมอีลินหุ้ม ในขณะที่ยังเป็นเอ็มบริโออยู่เซลล์ประสาทยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ ใยประสาทเส้นที่ยาว ๆ ยังไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม มีแต่เซลล์ชวานน์ ต่อมาส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ชวานจะม้วนตัวหลาย ๆ ครั้งหุ้มแอกซอน ดังนั้นเยื่อไมอีลินคือ เยื่อหุ้มเซลล์ชวานน์นั่นเอง

เป็นเซลล์ประสาทที่มีใยประสาท แยกออกจากตัวเซลล์เพียงเส้นเดียว ชนิดของเซลล์ประสาท เซลล์ประสาทมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ถ้าพิจารณาจากรูปร่าง ของเซลล์ประสาท แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่มีใยประสาท แยกออกจากตัวเซลล์เพียงเส้นเดียว ชนิดของเซลล์ประสาท (Martini และ Timmons, 1997)

2. เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar nuron) เป็นเซลล์ประสาทที่มีใยประสาท ออกจากตัวเซลล์สองเส้น ชนิดของเซลล์ประสาท (Martini และ Timmons, 1997)

3. เซลล์ประสาทหลายขั้ว ( multipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่มีใยประสาท ออกจากตัวเซลล์หลายเส้น ชนิดของเซลล์ประสาท (Martini และ Timmons, 1997)

ถ้าพิจารณาตามหน้าที่ จำแนกได้ 3 ชนิด คือ ถ้าพิจารณาตามหน้าที่ จำแนกได้ 3 ชนิด คือ 1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron) 2. เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) 3. เซลล์ประสาทประสานงาน ( association neuron)

เอกสารอ้างอิง http://zoo.sci.ku.ac.th/html_T/courseware/424111/html/12Nerveous%20system_files/frame.htm