Distributed Administration

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
Principle.
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
เอกสารฉบับนี้ได้มาจากอินเทอร์เน็ต chandra. ac
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
ซอฟต์แวร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
Surachai Wachirahatthapong
ข้อดีของฐานข้อมูล 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจมีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
กระบวนการสอบถามข้อมูล
๕.๖ ส่วนประกอบของ DBMS ในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีการสอบถามหรือค้นหาคำตอบ รวมถึงการเพิ่มและการลบข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล.
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
Geographic Information System
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
1. ความหมายฐานข้อมูล 2. โครงสร้างของฐานข้อมูล
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบฐานข้อมูล.
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Distributed Administration

ระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย ระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed database management system) คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานในการปฎิบัติงานบนฐานข้อมูลแบบกระจาย

การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Processing) การประมวลผลแบบกระจายนั้นคือฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ (centralized database) ที่สามารถแอกเซสบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลที่เป็นศูนย์กลาง user สามารถ accessได้บนระบบเครือข่าย แต่นั่นไม่ได้หมายถึงว่าเป็นระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย ซึ่งสามารอธิบายและเปรียบเทียบได้

ระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบขนาน (Parallel DBMS) ระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบขนานคือ DBMS ที่รันบนมัลติโปรเซสเซอร์ และดิสก์จัดเก็บข้อมูลได้ถูกออกแบบให้ Execute ในลักษณะคู่ขนาน ส่งผลให้ระบบทำงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นทั้งในด้านของ scalability, reliability และ performance ซึ่งสามารถนำเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อในลักษณะคู่ขนานเป็นเครือข่ายเสมือนกับเป็นการทำงานบนเครื่องเดียว และมีความสามารถในการประมวลผลด้วยความเร็วเทียบเท่ากับเครื่องระดับใหญ่

ชนิดของระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย (Types of DDBMS) Homogeneous DDBMS เป็นระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบกระจายที่ทุก ๆ ไซต์จะใช้ผลิตภัณฑ์ DBMS เดียวกัน ทำให้รูปแบบข้อมูลของฐานข้อมูลในแต่ละไซต์มีรูปแบบเดียวกันส่งผลให้การออกแบบและการจัดการมีความสะดวกและง่าย

Heterogeneous DDBMS เป็นระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบกระจายที่ไซต์บางไซต์อาจจะใช้ผลิตภัณฑ์ DBMS คนละตัวกัน วึ่งเป็นไปได้ว่าในแต่ละไซต์หรือแต่ละสาขานั้นได้มีการพัฒนาฐานข้อมูลไว้ใช้งานของตนเอง โดยวิธีนี้อาจทำให้มีความแตกต่างทั้งในด้านฮาร์ดแวร์ ผลิตภัณฑ์ DBMS หรือความแตกต่างทั้งฮาร์ดแวร์และ DBMS ดังนั้น จึงส่งผลให้แต่ละสาขาต่างก็มีฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นมาในรูปแบบที่แตกต่างกัน ก่อให้เกิดปัญหาในด้านของการนำข้อมูลมารวมกัน (Integrated) จึงจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการแปลงข้อมูลต่าง ๆ ที่เรียกว่าgetaway

ข้อดีและข้อเสียของ DDBMS การทำงานเป็นไปแบบอิสระต่อกัน หากข้อมูลของส่วนงานอื่นเสียหายก็ไม่ส่งผลกระทบกับส่วนงานอื่น ๆ มีความเชื่อถือสูง มีประสิทธิภาพสูง ประหยัดค่าใช้จ่ายเมื่อเทียบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับใหญ่ ง่ายต่อการขยาย กล่าวคือเหมาะสำหรับหน่วยงานที่มีแนวโน้มการเจริญเติบโตอยู่ตลอดเวลาเช่น การเพิ่มไซต์หรือสาขา ซึ่งรองรับต่อการขยายระบบในอนาคต

ข้อเสีย มีความสลับซับซ้อนกว่าแบบรวมศูนย์ เนื่องจากระบบมีความซับซ้อนจึงมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบำรุงรักษาสูง สูญเสียการควบคุมความปลอดภัยเมื่อเทียบกับแบบรวมศูนย์ซึ่งควบคุมง่ายกว่า รวมทั้งความสามารถในการนำข้อมูลจากสาขาอื่น ๆ มาใช้งานได้ง่าย การควบคุมความถูกต้องตรงกันในข้อมูลเป็นไปได้ค่อนข้างยาก ยังไม่มีหลักการหรือมาตรฐานการจัดการที่แน่นอนและชัดเจน ขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ที่มีประสบการณ์ การออกแบบฐานข้อมูลมีความซับซ้อนสูง

ความหมายของการประมวลผลสอบถาม การประมวลผลสอบถาม (Query Processing) เป็นหน้าที่หนึ่งของระบบการจัดการฐานข้อมูล โดยระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำการประมวลผลสอบถามที่เกิดจากภาษาสอบถาม (Query Language) ได้แก่ ภาษา SQL (Structured Query Language) ภาษา QBE (Query By Example) เป็นต้น และหาคำตอบที่ดีที่สุด

โครงสร้างของตัวประมวลผลสอบถาม ส่วนตรวจสอบภาษา (Parser) ทำหน้าที่ตรวจเช็คกฏและหลักเกณฑ์ (Syntax) ของคำสั่งสอบถามข้อมูลที่กำหนดไว้ในระบบฐานข้อมูล ออฟติไมเซอร์ (Optimizer) ทำหน้าที่ในการกลยุทธ์หรือวิธีการที่เหมาะสมเพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลประหยัดเวลาที่สุด เมื่อคำสั่งในภาษาสอบถามผ่านตัวตรวจสอบภาษา

ขั้นตอนของการทำกระบวนการสอบถามข้อมูลและการสอบถามข้อมูลที่ได้คำตอบที่ดีที่สุด ขั้นตอนที่ 1 การตรวจเช็คกฏไวยากรณ์ของภาษา ( syntax checking) ขั้นตอนที่ 2 การแปลงการสอบถามให้อยู่ในรูปที่เหมาะสมที่สุด (query optimizer) ขั้นตอนที่ 3 การสร้างชุดคำสั่งของภาษาสอบถาม (query code generator) ขั้นตอนที่ 4 การประมวลผลในฐานข้อมูล (runtime database processor)

ค่าใช้จ่ายในการประมวลผลสอบถาม ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บอยู่ในดิสค์ซึ่งเป็นหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากแฟ้มข้อมูลชั่วคราว(intermediate file)ที่ต้องเก็บอยู่ในดิสค์ แฟ้มข้อมูลชั่วคราว

ค่าใช้จ่ายในการประมวลผลสอบถาม ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการคำนวณของการค้นหาข้อมูล การเรียงลำดับของระเบียนข้อมูล การนำข้อมูลมารวมกัน และการคำนวณค่าต่างของข้อมูลที่เป็นตัวเลขในแต่ละเขตของข้อมูล (field) ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการส่งภาษาสอบถาม (query) บนฐานข้อมูลที่อยู่ในที่หนึ่งไปยังฐานข้อมูลที่อยู่อีกที่หนึ่ง