1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
พิจารณาแก๊ส 1 โมเลกุล ชนผนังภาชนะ 1 ด้าน ในแนวแกน x.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
Ground State & Excited State
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
“Non Electrolyte Solution”
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
(Colligative Properties)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
ความเค้นสัมผัส (contact stress)
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
บรรยากาศ.
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
สมบัติของสารและการจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
F = C - P + 2 Free Energy and Phase Equilibria The Phase Rule
Phase equilibria The thermodynamics of transition
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
พันธะเคมี Chemical bonding.
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
แนวโน้มของตารางธาตุ.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
พลังงานภายในระบบ.
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
สารประกอบ.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
พันธะเคมี.
การทดลองที่ 10 จุดเยือกแข็งที่ลดลง (Freezing Point Depression)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (∆Hfus) < ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (∆Hvap) เราสามารถใช้ phase diagram ในการบอกวัฎภาคของสารที่ T และ P ต่างๆ ได้ จุดเดือดของการต้มน้ำบนยอดเขาสูงจะต่ำกว่าบนพื้นราบ (ความร้อนที่จุดเดือดน้อยลง) น้ำแข็งแห้งระเหิดเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์โดยไม่ผ่านวัฏภาคของเหลว

2. ของแข็ง (Solid) 2. ของแข็ง ของแข็งอสัณฐาน & ของแข็งที่เป็นผลึก หน่วยที่เล็กที่สุดของผลึกคือ unit cell การบรรจุทรงกลมในเซลล์ - แบบลูกบากศ์ 3 แบบ ได้แก่ scc, bcc & fcc (or ccp) - แบบชิดที่สุด 2 แบบ ได้แก่ hcp & ccp (or fcc) ปริมาตรของอะตอมทั้งหมดในหน่วยเซลล์ = จำนวนอะตอมทั้งหมด x (4/3)pr3 ผลึกมี 4 ประเภท คือ ไอออนิก(เกลือ) โควาเลนต์(คาร์บอน) โลหะ และโมเลกุล(น้ำแข็ง) Unit cell ของผลึกไอออนิก NaCl ZnS CeCl และ CaF2 2 2

3. ของเหลวและสารละลาย (Liquid & Solution) 2. ของแข็ง 3. ของเหลวและสารละลาย (Liquid & Solution) กระบวนการละลาย ∆Hsolution = ∆H1 + ∆H2 + ∆H3 => ∆Hsolution > 0 การเกิดสารละลายดูดความร้อน => ∆Hsolution < 0 การละลายคายความร้อน (เมื่อ ∆H1 & ∆H2 => สลายพันธะ ส่วน ∆H3 สร้างพันธะ) สภาพการละลาย (s) - ของแข็ง = T เพิ่ม s เพิ่ม (ดูดความร้อน) และ T เพิ่ม s ลด (คายความร้อน) - T เพิ่ม s ของแก๊สลด แต่ P เพิ่ม s ของแก๊สเพิ่ม หลักการของการกลั่นลำดับส่วน สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย - การลดความดันไอ การเพิ่มจุดเดือด การลดจุดเยือกแข็ง ความดันออสโมซิส www.chem.sci.ubu.ac.th ไปที่ e-learning 3 3

4. แก๊ส (Gas) กฎของบอยล์ V α 1/P หรือ P1V1 = P2V2 2. ของแข็ง 4. แก๊ส (Gas) กฎของบอยล์ V α 1/P หรือ P1V1 = P2V2 กฎของชาร์ลและเกย์-ลูสแซค V α T หรือ V1 / T1 = V2 / T2 สมการของแก๊สสมบูรณ์แบบ PV = nRT หรือ (P1V1) / T1 = (P2V2) / T2 ความหนาแน่นของแก๊ส d = m/v = PM / RT สมการของแก๊สจริง ความดันของแก๊สจริง ต่ำกว่า ความดันของแก๊สสมบูรณ์แบบ แก๊สสมบูรณ์แบบ PV/RT = 1 เมื่อ P เข้าใกล้ศูนย์ แก๊สทุกชนิดแสดงพฤติกรรมคล้ายแก๊สสมบูรณ์แบบ คือ PV/RT เข้าใกล้ 1 4 4