อาจารย์ตะวัน ฉัตรสูงเนิน ติดต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร  เปิดหลักสูตรมาตั้งแต่ ปี 2523 ผลิตนิสิตระดับปริญญา โทเข้าทำงานในหน่วยราชการและเอกชนมากกว่า 30 รุ่น  หลักสูตรเทคโนโลยีทางอาหารระดับปริญญา.
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เมธีส่งเสริมนวัตกรรม
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
Physiology of Crop Production
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
Maejo University Administrative Chart
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
Biosensor (Multimedia Input)
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
whey เวย์ : casein เคซีน
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
ปุ๋ยจากสิ่งปฏิกูล Manure from sewage
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
ความหมายของสิทธิบัตร
เอกสารเรียนการบริหารการผลิตวันที่ 18 พ.ย.54
ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ ศลช.
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
การอบแห้งข้าวที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารสกัดจากใบเตยด้วยวิธี ไมโครเวฟ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ตะวัน ฉัตรสูงเนิน ติดต่อ E-mail: tawan@mjuacth โดย อาจารย์ตะวัน ฉัตรสูงเนิน ติดต่อ E-mail: tawan@mjuacth Office: (053)878-038-50 ต่อ 3063 สำนักงานอธิการบดีชั้น 3 ห้อง มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ

บทนำ (Introduction)

บทนำ (Introduction)

บทนำ (Introduction) เทคโนโลยีชีวภาพกับสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องและการประยุกต์ใช้

Parallel Fermentation Facility

BioFlo 6000, 130 Liter capacity fermentor BioFlo 6000, 130 Liter capacity fermentor. Shown with open skid equipped with optional automatic sterilization feature.

1. Microbial cell and Biomass - การผลิตมวลชีวภาพในเชิงพาณิชย์ได้เริ่มในราว ค.ศ. 1900 ด้วยการ ผลิตยีสต์ขนมปังเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมขนมอบ - เมื่อโลกประสบกับวิกฤตการณ์การขาดแคลนอาหารเมื่อปี ค.ศ. 1960 ได้มีการพัฒนาการผลิตโปรตีนเซลล์เดียว (SCP) ด้วยกระบวนการหมัก Microbial cell and Biomass : สามารถผลิตได้จาก แบคทีเรีย รา ยีสต์ และแอลจี วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต: วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ของเสียจากอุตสาหกรรม อาหาร กากน้ำตาล แป้ง หางนม และผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ได้แก่ มีเทน เมทานอล และอัลเคน

1. Microbial cell and Biomass There may be biological waste treatment in larger vessels, but the world's largest fermenter is shown in these photos taken from Chemical and Engineering News. The fermenter is 200' high and 25 ft diam. The first photo (Chem. Eng. News, 10-Apr-78) shows the fermenter being transported on vehicles with tank treads.

1. Microbial cell and Biomass บริษัทไอซีไอ แห่งประเทศอังกฤษได้พัฒนา กระบวนการผลิตยีสต์โปรตีนจากเมทานอล แบบต่อเนื่องในถังหมักชนิด Air-lift ขนาด 1,500 ลบ.ม. ซึ่งมีกำลังผลิตยีสต์โปรตีนสูงถึง 54,000-70,000 ตัน/ปี เพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ Methylophilus methylotrophus I.C.I. Methane from natural gas or methanol

2. Microbial Enzyme โดยทั่วไปเอนไซม์สามารถสกัดได้จากเนื้อสัตว์ หรือผลิตได้จากแหล่งของจุลินทรีย์ ซึ่งในกรณีจากแหล่งของจุลินทรีย์สามารถผลิตเอนไซม์ได้ในปริมาณที่มากโดยที่ คัดเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสมหรือการปรับปรุงสายพันธุ์ด้วยการผ่าเหล่าและเทคนิค ทางพันธุวิศวกรรม การใช้เอนไซม์ในอุตสาหกรรมมีอยู่มากมายทั้งอุตสาหกรรม ประเภทอาหาร กึ่งอาหาร และไม่ใช่อาหาร Enzyme: Amylase Protease Pectinase Cellulase Isomerase Invertase and Oxidase Fungi and Bacteria

2. Microbial Enzyme

3. Microbial metabolite ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเซลล์สามารถจำแนกออกได้เป็น 2 พวก - ผลิตภัณฑ์ปฐมภูมิ (Primary Metabolite) - ผลิตภัณฑ์ทุติยภูมิ (Secondary Metabolite) ผลิตภัณฑ์ปฐมภูมิ (Primary Metabolites) ปริมาณการผลิตของสารสัมพันธ์โดยตรงกับการเติบโตของจุลินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้แก่ กรดอะมิโน นิวคลีโอไทด์ แอลกอฮอล์ แอซีโตน บิวทานอล และพอลิแซ็กคาไรด์ เป็นต้น

3. Microbial metabolite ผลิตภัณฑ์ทุติยภูมิ (Secondary Metabolites) เกิดขึ้นจากสารมัธยันตร์หรือผลิตภัณฑ์ปฐมภูมิที่ได้ในขั้นตอนต้นด้วยปฏิกิริยา ของเซลล์ขั้นต่อไปหลังจากที่เซลล์หยุดการเติบโตไปแล้ว

3. Microbial metabolite cell constituents Nucleic acids Proteins intermediates Polysaccharides Nucleotides Lipids Amino acids Sterols Sugars secondary metabolites Acetyl CoA Penicillins, Cephalosporins Terpenes peptide antibiotics, alkaloids Aminoglycoside antibiotics Tetracycline antibiotics Gibberellins

4. Recombinant products เป็นการนำเทคโนโลยี Recombinant DNA หรือพันธุวิศวกรรม มาทำให้สามารถ สร้างจุลินทรีย์ชนิดใหม่เพื่อเพิ่มศักยภาพการหมัก ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ตามที่ต้องการ ด้วยผลผลิตที่สูงขึ้นในระดับอุตสาหกรรม โดยการนำสารพันธุกรรมจากสิ่งมีชีวิต ชั้นสูงมาใส่ในเซลล์จุลินทรีย์ เพื่อให้สามารถผลิตสารที่ต้องการ ได้แก่ Interferon, Insulin , Human serum albuminGrowth factor, Calf chymosin, bovine somatostatin เป็นต้น

5. Biotransformation เซลล์ของจุลินทรีย์สามารถในการแปรสภาพสารประกอบชนิดหนึ่งไปสู่อีกชนิดหนึ่ง ได้ด้วยปฏิกิริยาของเอนไซม์ที่มีอยู่ในเซลล์ ซึ่งกระบวนการแปรสภาพทางชีวภาพมี ข้อได้เปรียบกว่ากระบวนการทางเคมีมาก เพราะเอนไซม์มีความจำเพาะมากกว่า และ ปฏิกิริยาเกิดในสภาพไม่รุนแรง แต่ปฏิกิริยาทางชีวภาพจำเป็นต้องใช้เอนไซม์มาก จึงต้องมีการใช้เทคนิคการตรึงเข้ามาช่วย ตัวอย่าง ได้แก่ การผลิตสเตอรอยด์ Prostaglandins และยาปฏิชีวนะ เป็นต้น

กระบวนการทางการหมัก

กระบวนการทางการหมัก 1. The formulation of media to be used in culturing the process organism during the development of the inoculum and in the production fermenter. 2. The sterilization of the medium, fermenters and ancillary equipment. 3. The production of an active, pure culture in sufficient quantity to inoculate the production vessel.

กระบวนการทางการหมัก 4. The growth of the organism in the production fermenter under optimum conditions for product formation. 5. The extraction of the product and its purification. 6. The disposal of effluents produced by the process.

กระบวนการทางการหมัก Q1: What are the differences between Biotechnology and Fermetation Technology?. Q2: What are the steps of Fermentation Technology?.

สามารถติดตามเอกสารประกอบการสอนได้ที่ See you again next Thursday on the topics of สามารถติดตามเอกสารประกอบการสอนได้ที่ E-learning\มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ\ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ\อาจารย์ตะวัน ฉัตรสูงเนิน