ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
การเขียนบทความ.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
การเขียน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนะนำวิทยากร.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ทักษะการคิดวิเคราะห์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
ความหมายของการวิจารณ์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ความหมายของการวิจารณ์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนโครงการ.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ

จุดมุ่งหมายความสำคัญของงานวิจัย ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วิธีการและเทคนิค เทคนิคการเขียนความสำคัญของการวิจัย หลักการการเขียนความสำคัญของงานวิจัย

จุดมุ่งหมายความสำคัญของงานวิจัย ผู้วิจัยต้องแสดงให้เห็นว่า มีความรู้พื้นฐานและเข้าใจในปัญหา ที่กำลังจะศึกษาอย่างชัดเจนทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถระบุถึงความสำคัญของปัญหา ความจำเป็น คุณค่าและประโยชน์ที่จะได้รับอย่างมีเหตุผล ระบุ เป็นไปตามคาดหมาย หรือตรงกันข้ามกับที่คาดหมาย การวางกรอบทฤษฎีและแยกแยะโครงสร้างของทฤษฎีไว้

อย่างชัดเจน จะทำให้ทราบถึงชนิดของตัวแปรและจำนวนของตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ว่ามีมากน้อยแค่ไหน ทราบว่าตัวแปรใดมีความสัมพันธ์กัน และลักษณะความสัมพันธ์เป็นไปในทิศทางใด ต้องมีการควบคุมตัวแปรใดบ้าง และทำให้ทราบถึงแนวทางในการสร้างเครื่องมือ และใช้เครื่องมือวัดตัวแปร

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (Background and Problem) เป็นส่วนประกอบอันแรกของเอกสารวิจัยส่วนบุคคล (ความยาวของเนื้อหาประมาณ ๒ - ๓ หน้า) สภาพปัญหาที่เลือกมาศึกษา ต้องอ้างอิงหลักฐานจากทฤษฎีหรืองานวิจัยอื่นเพื่อสร้างความหนักแน่นให้แก่เหตุผลที่จะต้องศึกษาเรื่องนี้ ความสำคัญของปัญหา พิจารณาได้จาก จำนวนบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือถูกกระทบกระเทือนจากปัญหาหรือเรื่องที่จะทำการวิจัย ความถี่และความกว้างของการเกิดขึ้นของเหตุการณ์

ความเป็นไปได้ ความน่าสนใจและทันต่อเหตุการณ์ ความสนใจของผู้วิจัย ความสามารถที่จะทำการวิจัยให้ลุล่วง (หมายถึงข้อมูลที่มี / แนวคิดที่มี) สำหรับขั้นตอนในการเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ควรมีลำดับ ดังนี้ ๑. กล่าวนำเข้าสู่ปัญหาอย่างมีลำดับขั้นตอน ชัดเจน รัดกุมโดยมีการทบทวนวรรณกรรมพอสังเขป โดยเขียนอธิบายในภาพรวมของปัญหา (Macro) มาสู่ประเด็นปัญหาที่เจาะจงจะศึกษาวิจัยที่แคบลง (Micro)

ระบุว่าปัญหาคืออะไร มีข้อมูล หลักฐานยืนยันว่าเป็นความจริง ๓. กล่าวถึงความรุนแรงของปัญหามีมากน้อยเพียงใด ส่งผลกระทบถึงส่วนรวมอย่างไร บ้าง และมีแนวโน้มที่จะรุนแรงต่อไปในอนาคตอย่างไร ระบุความจำเป็นที่จะต้องมีการวิจัย ๕. ผลที่ได้จากการวิจัยจะช่วยแก้ปัญหาอย่างไร

เทคนิคการเขียนความสำคัญของการวิจัย แนวในการเขียนแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ      1.1 เริ่มจากจากสภาพปัจจุบันของสิ่งที่จะวิจัย        1.2 ปัญหาที่เกิดขึ้นสำหรับสิ่งที่จะวิจัย 1.3 แนวทาง หรือ หลักการที่จะแก้ปัญหานั้น 2. ตรงประเด็น และชี้ให้เห็นความสำคัญของสิ่งที่จะวิจัย ไม่ควรเขียนเยินเยอ และนอกเรื่อง เพราะจะทำให้ผู้อ่านไขว้เขวได้ 3. มีข้อมูลอ้างอิง เพื่อความน่าเชื่อถือ การมีข้อมูลอ้างอิงจะทำให้งานวิจัยมีคุณค่า และบางครั้งทำให้การเขียนมีความสละสลวย มีเหตุมีผล 4. มีความต่อเนื่องกัน ในแต่ละย่อหน้าผู้เขียนต้องเขียนให้ต่อเนื่องกัน ห้ามเขียนวกไปวนมา โดยต้องยึดหลักการเขียนตามข้อ 1 5. สรุปเหตุผลที่ผู้วิจัยจะศึกษา ในส่วนสุดท้ายของความเป็นมาและความสำคัญของการวิจัย

วิธีการและเทคนิค 2) ทันต่อเหตุการณ์ 3) เป็นสากล 4) ท้าทาย           1) ทันสมัย      2) ทันต่อเหตุการณ์       3) เป็นสากล       4) ท้าทาย       5) สร้างองค์ความรู้ใหม่  หรือสร้างสาระสำคัญของความรู้ทาง วิชาการใหม่       6) เป็นความคิดริเริ่มใหม่       7) เท่าที่ผ่านมา ยังไม่เคยมีใครทำมาก่อนหรือมีแต่น้อยมาก        8) มีผู้ศึกษาไว้พอสมควรแต่กระจัดกระจายและยังไม่เป็น ระบบ ผู้ศึกษาจึงนำมาประมวลและจัดระบบ        9) ช่วยเพิ่มความรู้ด้านวิชาการให้มากขึ้นอย่างชัดเจน     10) เป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการหรือสังคมส่วนรวม เช่น ประเทศชาติ ชุมชน และ/หรือ ประชาชน     11) สามารถนำไปใช้ประโยชน์หรือประยุกต์ใช้ได้อย่าง กว้างขวาง     

หลักการการเขียนความสำคัญของงานวิจัย แสดงเหตุผลให้เห็นว่าเรื่องที่นำมาศึกษานี้สำคัญและจำเป็น หรือจูงใจอย่างมากจนถึงขนาดที่ทำให้ผู้ศึกษาหรือคณะผู้ศึกษาสนใจและได้ตัดสินใจเลือกศึกษาเรื่องนี้ กล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ เป็นความพยายามของผู้ศึกษาที่จะเขียนเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกว่าเรื่องที่ศึกษาเป็นเรื่องสำคัญ น่าสนใจ และต้องการอ่านต้องการติดตาม

ตัวอย่างของการเขียนความสำคัญของงานวิจัย เรื่อง การแก้ปัญหานักเรียนเขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง ความสำคัญและที่มา จากการสอนทักษะการเขียนสะกดคำ พบว่า เมื่อครูให้นักเรียนอ่านบทเรียน หรือ หนังสือนอกเวลา แล้วกำหนดคำให้นักเรียนเขียนตามคำบอก จากคำที่ครูกำหนดขึ้น นักเรียนไม่สามารถเขียนคำได้ถูกต้อง ตามมาตราตัวสะกด ต่างๆ ครูผู้สอนจึงจึงเกิดความคิดที่ว่า การ ให้นักเรียนค้นหาคำศัพท์ที่สะกดด้วยมาตราตัวสะกดต่างๆจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ และการฝึกให้นักเรียนได้เขียนสะกดคำบ่อยๆ จะช่วยให้นักเรียนเขียนสะกดคำได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น

ที่มาของตัวอย่างอ้างอิง ผู้วิจัย ครูฉายพรรณ สนิทนาน เรื่อง การแก้ปัญหานักเรียนเขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง กลุ่มการเรียนรู้วิชาภาษาไทย/2546