ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
สมดุลเคมี.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Law of Photochemistry.
“Non Electrolyte Solution”
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
บทที่ 5 ระบบการป้องกันไฟไหม้และระเบิด
1st Law of Thermodynamics
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
สมบัติของสารและการจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
Laboratory in Physical Chemistry II
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
Electronic Lesson Conductometric Methods
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ความเข้มข้นของสารละลาย (Solution concentration)
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Mathematical Statement of the Problem
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
คู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure:SOP)
การจำแนกประเภทของสาร
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การทดลองที่ 10 จุดเยือกแข็งที่ลดลง (Freezing Point Depression)
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
การทดลองที่ 3 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
สมบัติของสารละลาย (Colligative properties)
ปริมาณสัมพันธ์ ผู้สอน อ. ศราวุทธ แสงอุไร Composition Stoichiometry ว ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของ สาร และเคมีไฟฟ้า นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
สารละลาย(Solution).
สารละลาย(Solution).
Property Changes of Mixing
ความเข้มข้นของสารละลาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา ว21101
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม สารละลาย ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม

สารละลาย หมายถึง สารผสมเนื้อเดียวของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ถ้าพิจารณาจากสารตั้งต้น จะแบ่งสารละลายออกเป็น 6 ชนิด (ดูตารางในสไลด์ถัดไป) ถ้าพิจารณาเฉพาะสารละลายที่มีของเหลวเป็นองค์ประกอบ จะมีเพียง 3 ชนิด คือ สารละลายชนิดแก๊ส - ของเหลว, ของเหลว - ของเหลว, และ ของแข็ง- ของเหลว ของเหลวที่ใช้มากที่สุด คือ “น้ำ” สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย เรียกว่า Aqueous solution เขียนเป็นสัญลักษณ์ aq. เช่น Na+ (aq.)

ชนิดของสารละลาย องค์ประกอบ 1 องค์ประกอบ 2 สถานะของสารละลาย ตัวอย่าง แก๊ส อากาศ ของเหลว CO2 ในน้ำ (น้ำโซดา) ของแข็ง H2 ในแพลเลเดียม เอทานอล 95% (น้ำในเอทานอล) น้ำเกลือ (NaCl ในน้ำ) ทองเหลือง (Cu/Zn)

Salt is dissolved in water, a solution called an electrolyte.

ชนิดของสารละลาย จำแนกตามความจุของตัวทำละลาย ชนิดของสารละลาย จำแนกตามความจุของตัวทำละลาย ชนิดของสารละลาย ความจุของตัวทำละลาย สารละลายอิ่มตัว (saturated solution) มีตัวถูกละลายอยู่เต็มความจุของตัวทำละลาย ณ อุณหภูมิที่กำหนด สารละลายไม่อิ่มตัว (unsaturated solution) มีตัวถูกละลายอยู่น้อยกว่าความจุของตัวทำละลาย ณ อุณหภูมิที่กำหนด สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง (supersaturated solution) มีตัวถูกละลายอยู่มากกว่าความจุของตัวทำละลาย ณ อุณหภูมิที่กำหนด

Ideal Solutions

Nonideal Solutions

การแพร่ สมบัติของของเหลว (diffusion) จะเกิดขึ้นทั้งในกรณีของแก๊สและของเหลว เป็นกระบวนการผสมที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous mixing) ซึ่งเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่อย่างอิสระ (random motion) ของโมเลกุล

กระบวนการละลาย ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 1. แยกโมเลกุลของตัวทำละลาย (solvent) ออกจากกัน มีการใช้พลังงาน (DH1) 2. แยกโมเลกุลของตัวถูกละลาย (solute) ออกจากกัน มีการใช้พลังงาน (DH2) 3. นำโมเลกุลของตัวทำละลายและตัวถูกละลายมารวมกัน เป็นกระบวนการคายความร้อน (DH3) ความร้อนของการละลาย คือ DHsoln DHsoln = DH1 + DH2 + DH3

DHsoln = DH1 + DH2 + DH3 ตัวถูกละลาย ตัวทำละลาย สารละลาย ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 (DH2) ตัวถูกละลาย ตัวทำละลาย ขั้นที่ 3 (DH3) สารละลาย

สารจะละลายสารที่คล้ายกัน (Like dissolves like) ของเหลว 2 ชนิด ที่ไม่มีขั้วมักจะกลมกลืนกัน (miscible) ของเหลว 2 ชนิด ที่มีขั้วมักจะกลมกลืนกัน (miscible) ของเหลวที่ไม่มีขั้ว จะละลายได้เพียงเล็กน้อยในของเหลวที่มีขั้ว ผลก็คือ ของเหลวทั้งสองชนิดรวมเป็นเนื้อเดียวกันไม่ได้ เรียกว่า ไม่กลมกลืนกัน (immiscible) เช่น กรณีของ H2O กับ CCl4 เกิดเป็นของเหลวที่ประกอบด้วย 2 วัฏภาค คือ วัฏภาคของน้ำที่มี CCl4 ละลายได้เพียงเล็กน้อย และ วัฏภาคของ CCl4 ที่มีน้ำละลายได้เพียงเล็กน้อย

ความเข้มข้น หน่วย นิยาม ตัวอย่างหน่วยของความเข้มข้น ความเข้มข้น หน่วย นิยาม เศษส่วนโมล mole fraction - x = mole of solutes โมแลลิตี molality molal (m) m = mole of solutes โมลาริตี molarity Molar (M) C = mole of solutes เปอร์เซ็นต์ (นน./นน.) % (w/w) % (w/w) = weight of solutes x 100 หนึ่งส่วนในล้านส่วน part per million ppm หรือ mg/dm3 ppm = 1 part in 1,000,000 mole of solutes + moles of solvents mass in Kg of solvents Volume in dm3 of solution weight of solution

METRIC SYSTEM QUANTITIES สำหรับของแข็ง 1 kilogram (kg) = 1 million milligrams (mg) ดังนั้น 1 mg/kg = 1 part per million 1 kilogram (kg) = 1 billion micrograms (mg) ดังนั้น 1 mg/kg = 1 part per billion สำหรับของเหลว 1 liter (L) or 1 dm3 of water weighs exactly 1 kg ดังนั้น 1 mg/L = 1 part per million and 1 mg/L = 1 part per billion

SOLUTION PREPARATION When making solutions, be sure all glassware is clean. Weigh the sample on a balance adequate for the accuracy desired. Dissolve the sample in a beaker with about one-half the distilled waster. (Some chemicals will require heating to dissolve). Transfer the solution to a volumetric flask or graduated cylinder. Rinse the beaker with a small quantity of distilled water at least 3 times and add rinses to the solution. Fill the flask or cylinder to the desired level. Pour the solution into a storage vessel and mix well. http://www.biology.ewu.edu/Biosubsite/foldfile/Resources/Lab/Solution.html

Molar Solutions 1 M = 1 gram molecular weight of chemical / liter of water Example: Make a 1.5 M solution of NaOH Molecular weight of NaOH: Na = 24; O = 16; H = 1 Total = 40 g mol-1 1.5 *40 = 60 g NaOH / liter final volume. Dissolve 60 g NaOH in 400 mL distilled water and dilute to l liter final volume. Mix well.

To change from one molarity to another, use the formula ตัวอย่าง: จงเตรียม 100 cm3 0.05 M NaOH จากสารละลาย NaOH 1.5 M สูตร: M1 * volume1 = M2 * volume2 0.05 * 100 = 1.5 * ? (0.05 * 100 )/1.5 = 3.33 cm3 of 1.5 M NaOH เจือจางด้วยน้ำกลั่นจนมีปริมาตรครบ 100 mL

Hydrated Crystals ถ้าผลึกที่ต้องการนำมาเตรียมสารละลายเป็นผลึกที่มีน้ำผลึกอยู่ จะต้องเตรียมดังตัวอย่าง ตัวอย่าง: ในการเตรียมสารละลาย CuSO4 ต้องการ 9 g CuSO4 แต่สารตั้งต้นที่ใช้เป็น CuSO4.5H2O. จะต้องชั่งสารดังกล่าวกี่กรัม? มวลโมเลกุล ของ CuSO4 = 159.6 g mol-1 มวลโมเลกุล ของ CuSO4 .5H2O= 249.7 g mol-1 (9 * 249.7) / 159.6 = 14.1 gm CuSO4.5H2O