ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ระบบจำนวนจริง(Real Number)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
Power Series Fundamentals of AMCS.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่านั่นคือ ถ้า f เป็นความสัมพันธ์ หรือเราสามารถเขียนฟังก์ชัน f ในอีกรูปแบบหนึ่งคือ.
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
จำนวนเชิงซ้อน โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
Factorisation method. We will chake the answer Practice multiplication Commutative Distributive Addition Assosiative multiplication.
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลำดับโคชี (Cauchy Sequences)

บทนิยาม 3.6.1 ให้ เป็นลำดับจำนวนจริง จะเรียก ว่าเป็น ลำดับโคชี ถ้าสำหรับจำนวนจริง  > 0 จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง | sm – sn | <  , m, n  k หรืออาจกล่าวอย่างง่ายๆว่า เป็นลำดับโคชี ถ้า เป็นลำดับที่ให้ค่าผลต่างของเทอมที่ m, n น้อยมาก เมื่อ m, n มีค่ามากๆเพียงพอ

ทฤษฎีบท 3.6.2 ถ้า เป็นลำดับจำนวนจริง และ sn = L แล้ว เป็นลำดับโคชี การพิสูจน์ ให้  > 0 เนื่องจาก sn = L จะมีจำนวนเต็มบวก k ที่ทำให้ | sm – L | < , m  k และ | sn – L | < , n  k | sm – sn | = | sm – L + L – sn |  | sm – L | + | sn– L | < + , m, n  k ดังนั้น | sm – sn | <  , m, n  k นั้นคือ เป็นลำดับโคชี 

บทตั้ง 3.6.3 ถ้า เป็นลำดับจำนวนจริง และเป็นลำดับโคชี แล้ว เป็นลำดับที่มีขอบเขต การพิสูจน์ เนื่องจาก เป็นลำดับโคชี ให้  = 1 จะมีจำนวนเต็มบวก k ที่ทำให้ | sm – sn | < 1 , m, n  k ดังนั้น | sm – sk | < 1 , m  k

| | sm | – | sk | | < 1 , m  k ทำให้ | sm | < 1 + | sk | , m  k ให้ M = max { | s1|, | s2|, …, | sk – 1| } | sm | < M + 1 + | sk | , m นั้นคือ เป็นลำดับที่มีขอบเขต 

อนุกรมอนันต์ (Infinite Series)