ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
ประพจน์ และค่าความจริง
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Lecture 2: Logic Methods of proof.
Function and Their Graphs
การคิดและการตัดสินใจ
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
คำสั่งควบคุมเงื่อนไข และการทำงานเป็นรอบ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
Logic Programming การโปรแกรมเชิงตรรกะ.
บทที่ ๗ ศิลปะการควบคุมอารมณ์
ตัวดำเนินการ(Operator)
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ตารางค่าความจริงของตัวดำเนินการเชิงตรรกะ
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
สัจนิรันดร์ ข้อขัดแย้งและข้อความที่สรุปไม่ได้
รูปแบบการเขียนผังงานแบบ 2 ทางเลือก
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
(Tiling Deficient Boards with Trominoes)
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
การรับฟังพยานหลักฐาน
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เราไปกัน เลย. ยังไม่ถูก จ้า ถูกต้อง แล้ว.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
การ Recode ข้อคำถามที่เป็นเชิงลบ
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra

ประพจน์ ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธที่มีค่าความจริงเป็นจริงหรือเป็นเท็จอย่างใดอย่างหนึ่ง หมายเหตุ 1. ใช้สัญลักษณ์ p, q, r, m, … แทน ประพจน์ 2. จริงและเท็จ เรียกว่า ค่าความจริง (Truth value) ของ ประพจน์ โดย T แทนคำว่า “ จริง ” และ F แทนคำว่า “ เท็จ ”

ตัวเชื่อมประพจน์และตารางค่าความจริง การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ และ ” (Conjunction) ประพจน์ p และ q จะมีค่าความจริงเป็นจริงได้เพียงกรณีเดียวเท่านั้น คือ เมื่อทั้ง p และ q เป็นจริง เราอาจใช้คำว่า “ แต่ ” “ แม้ ” “ เมื่อ ” แทนคำว่า “ และ ”

ตัวเชื่อมประพจน์และตารางค่าความจริง การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม“ หรือ ” (Disjunction) คำว่า “ หรือ ” ในทางตรรกศาสตร์จะตรงกับคำว่า “ และ/หรือ ” นั่นคือ หมายถึง อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้ง 2 อย่าง ก็ได้ เราจะใช้สัญลักษณ์ “ v ” แทนคำว่า “ หรือ ” ประพจน์ p v q จะเรียกว่า ประพจน์เลือก (Disjunction) ของ p และ q ประพจน์นี้จะมีค่าความจริงเป็นจริง เมื่อ p หรือ q เป็นจริงอย่างน้อย 1 ประพจน์ ดังนั้น ประพจน์ p v q จะมีค่าความจริงเป็นเท็จเพียงกรณีเดียวเท่านั้น คือ เมื่อทั้ง p และ q เป็น เท็จ

ตัวเชื่อมประพจน์และตารางค่าความจริง การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ ถ้า ... แล้ว ... ” (Conditional, Implication) ประพจน์ซึ่งเกิดจากการเชื่อมประพจน์เดี่ยวด้วยตัวเชื่อม “ ถ้า ... แล้ว ... ” เรียกว่า ประพจน์เงื่อนไข หรือ ประพจน์แจงเหตุสู่ผล โดยใช้สัญลักษณ์ “ --> ” แทน คำว่า “ ถ้า ... แล้ว ... ” เช่น ถ้าฝนตก แล้ว ถนนจะเปียก

ตัวเชื่อมประพจน์และตารางค่าความจริง การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ ก็ต่อเมื่อ ” (Bicondition, Equivalence proposition) ประพจน์ที่เกิดจากการเชื่อมประพจน์เดี่ยวด้วยตัวเชื่อม “ ... ก็ต่อเมื่อ ... ” เรียกว่า ประพจน์ผันกลับได้ (Bicondition, Equivalence proposition) โดยใช้สัญลักษณ์ “ <--> ” แทนคำว่า “ ก็ต่อเมื่อ ” ประพจน์ p <--> q จะมีค่าความจริงเป็นจริง เมื่อ p และ q เป็นจริงหรือเป็นเท็จทั้งคู่ และจะมีค่าความจริงเป็นเท็จเมื่อ p และ q มีค่าความจริงต่างกัน

ตัวเชื่อมประพจน์และตารางค่าความจริง นิเสธ (Negation, Not) คือ การปฏิเสธประพจน์ใดประพจน์หนึ่ง โดยใช้สัญลักษณ์ “ ~p ” แทน “ นิเสธของ p ”

การสร้างตารางค่าความจริง ในการพิจารณาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมหรือประพจน์เชิงประกอบนั้นจะพิจารณาค่าความจริงของประพจน์ย่อย ๆ ก่อน ถ้ามี 1 ประพจน์ย่อย ค่าความจริงมี 2 กรณี ถ้ามี 2 ประพจน์ย่อย ค่าความจริงมี 22 = 4 กรณี ถ้ามี 3 ประพจน์ย่อย ค่าความจริงมี 23 = 8 กรณี : ถ้ามี n ประพจน์ย่อย ค่าความจริงมี 2n กรณี

สัจนิรันดร์และข้อขัดแย้ง สัจนิรันดร์ คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี ไม่ว่าค่าความจริงของประพจน์เดี่ยวที่ประกอบกันเป็นประพจน์นั้นจะมีค่าความจริงเป็นเช่นไร ข้อขัดแย้ง คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จทุกกรณี ไม่ว่าค่าความจริงของประพจน์เดี่ยวที่ประกอบกันเป็นประพจน์นั้นจะมีค่าความจริงเป็นเช่นไร

ประโยคเปิด ประโยคเปิด คือ ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธที่มีตัวแปรและไม่เป็นประพจน์แต่เมื่อแทนค่าตัวแปรด้วยสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์หรือเติมตัวบ่งปริมาณให้ครบทุกตัวแปรแล้วจะเป็นประพจน์ เช่น 1) เขาเคยเป็นนายกรัฐมนตรี มี คำว่า ” เขา ” เป็นตัวแปร 2) x + 1 = 7 มี x เป็นตัวแปร 3) x2 + y2 = 4 มี x และ y เป็นตัวแปร

การอ้างเหตุผล การอ้างเหตุผล คือ การยืนยัน (Assertion) ว่า ชุดของประพจน์ p1, p2,..., pn ชุดหนึ่งที่กำหนดให้ ซึ่งเรียกว่า เหตุหรือข้อตั้ง (Premise) จะทำให้ได้ประพจน์ q ขึ้นมาประพจน์หนึ่ง เรียกว่า ข้อสรุปหรือข้อยุติหรือผล (Conclusion)

การอ้างเหตุผล บทนิยาม เราจะเรียกการอ้างเหตุผลว่า สมเหตุสมผล (Valid) ถ้าเหตุ (แต่ละ p1, p2,… ,pn) เป็นจริง และข้อสรุป (q) เป็นจริงด้วย นอกนั้นเรียกว่า ไม่สมเหตุสมผล (Invalid) ทฤษฎีบท การอ้างเหตุผล p1, p2, ... , pn |- q สมเหตุสมผล ก็ต่อเมื่อ (p1 ^ p2 ^ … ^ pn) --> q เป็นสัจนิรันดร์