scanf(“%d”,&a); a = (2+3)*4/5; b= a*5/100; if(a<0) ……..

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาร์เรย์ (Array ).
Advertisements

คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
Arrays.
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
สรุปคำสั่ง if(เงื่อนไข)
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
BOON Array. BOON ตัวแปรอาร์เรย์แบบหนึ่งมิติ (One Dimension) Type array_name [Nmax],…; Ex. char fname[5]; char sname[5];
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
ทบทวน & ลุยโจทย์ (Midterm)
ครั้งที่ 8 Function.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
การควบคุมทิศทางการทำงาน
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ตัวแปรชุด.
Lecture no. 10 Files System
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
หน่วยที่ 5 การกำหนดเงื่อนไข. if - เลือกว่าทำหรือไม่ if if (เงื่อนไข) คำสั่ง;
หน่วยที่ 17 แอเรย์ของสตรัคเจอร์. แอเรย์ของข้อมูลสตรัคเจอร์ student_info student[30]; Student[0]Student[0].Name Student[0].Midterm Student[0].Assignment.
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
รูปแบบ if-else if if (เงื่อนไข1) {
Flow Control.
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การใช้คำสั่งเงื่อนไขใน exel
คำสั่งลำลอง.
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนพะเยาพิทยาคม โดย อ.วัชระ การสมพจน์
Computer Programming for Engineers
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
Control Statements.
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
1 Special Operators Special Operators ตัวดำเนินการพิเศษ Increment and decrement operators Conditional Operator.
Call by reference.
คำสั่งเงื่อนไข (Condition Statement)
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
บทที่ 5 Interrupt เทอดศักดิ์ ลิ่วหาทอง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
Flowchart การเขียนผังงาน.
2332 % % % % % % % % % จำนว น ร้อย ละ % ≤100 mg/dl mg/ dl
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 5 การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ.
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Chapter 4 ข้อความสั่ง เลือกทำ.
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
หลักการเขียนโปรแกรมภาษาซี
วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน Wilhelm Conrad Röntgen
Chapter 7 ฟังก์ชัน Function.
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การโปรแกรมด้วยไพทอนเพื่อประยุกต์ใช้งาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

scanf(“%d”,&a); a = (2+3)*4/5; b= a*5/100; if(a<0) …….. printf(“hello”); printf(“%d”,a);

โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก 1.1 คำสั่ง if 2. โครงสร้างควบคุมแบบวนซ้ำ 2.1 คำสั่ง while 2.2 คำสั่ง do… while 2.3 คำสั่ง for

คำสั่ง for คำสั่ง for จะใช้เงื่อนไขเป็นตัวควบคุมลูป ลูป while นี้จะเป็นลูปแบบ pre-test loop ซึ่งจะทำการตรวจสอบเงื่อนไขก่อนที่จะไปทำคำสั่งในลูป for(ค่าเริ่มต้น; เงื่อนไข; ค่าที่เปลี่ยน) { คำสั่ง; }

pre-test loop

pre-test loop คำสั่ง while คำสั่ง for a=1; while(a<=10) { printf(“%d”,a); a=a+1; } for(a=1;a<=10;a++) { printf(“%d”,a); }

int main() { int a; ส่วนกำหนดค่า ส่วนเงื่อนไข for(a=1; a<=10; a++) { printf(“ a= %d \n”,a); } ส่วนปลียนค่า printf(“End of job”); }

int count ,sum=0; float average; for(count=1; count<=5; count++) { scanf (“%d”,&data); sum = sum+data; } average=sum/5.0; printf(“%.2f”,average);

for(i=1; i<=12; i++) { answer = i * 2; printf(“%d”,answer); } printf(“Bye bye”);

for(count = 1; count<10; count++) { } printf(“%d %d “,max,min);

สรุป คำสั่ง for เป็นคำสั่งให้มีการทำงานวนซ้ำ เหมือนคำสั่ง while โดยมีรูปแบบดังนี้ for(ค่าเริ่มต้น; เงื่อนไข; ค่าที่เปลี่ยน) { …. }

แบบฝึกหัด 1. จงเขียนโปรแกรม รับค่าจำนวนเต็ม 1 จำนวน แล้วแสดงผลเป็นสูตรคูณ โดยใช้ คำสั่ง for ตัวอย่าง Enter number : 5 5 * 1 = 5 5 * 2 = 10 5 * 3 = 15 : 5*12 = 60 End of job…. Thanks.

แบบฝึกหัด 2. จากข้อ 1 กำหนดให้รับเฉพาะค่า 2-12 เท่านั้น (ถ้าไม่ใช้ 2-12 ต้องรับเลขใหม่ ตัวอย่าง Enter number : 15 Enter number : 5 5 * 1 = 5 5 * 2 = 10 5 * 3 = 15 : 5*12 = 60 End of job…. thanks.

แบบฝึกหัด 3. จงเขียนโปรแกรมแสดงการหาผลบวกของเลข 1 ถึง 100 ออกมาบนจอภาพ โดยใช้ คำสั่ง for 4. จงเขียนโปรแกรมเปลี่ยนค่าองศาเซลเซียส ให้เป็นองศาฟาเรนไฮท์ จาก 0 ถึง 20 องศา โดยให้เพิ่มค่าองศาเซลเซียสขึ้นครั้งละ 1 ให้แสดงเป็นค่าองศาเซลเซียสและองศาฟาเรนไฮท์ ทุกครั้ง ดังนี้(โดยใช้ คำสั่ง for) Celsius Fahrenheit (F = C/5*9+32) 0 32.00 1 33.00 2 35.00 3 37.40 (แสดงถึง 20 68.00)

กฎการใช้คำสั่ง for 1. ค่าที่เพิ่มขึ้นในแต่ละรอบของตัวแปรควบคุมนั้นจะเป็นเท่าไรก็ได้ เช่น for (x=0; x<=100; x = x + 5) printf(“%d \n”,x); หมายความว่า จะพิมพ์ค่า x จาก 5, 10, 15 ไปเรื่อยๆ จนถึง 100 นั่นคือ ค่าของ x เพิ่มขึ้นครั้งละ 5

2. ค่าของตัวแปรควบคุมอาจถูกกำหนดให้ลดลงก็ได้ เช่น for (x=100; x>0; x - - ) printf(“d \n “, x); หมายความว่า จะพิมพ์ค่า x จาก 100, 99, 98 ลงไปเรื่อยๆ จนถึง 0 นั่นคือค่าของ x จะถูกกำหนดให้ลดลงลงรอบละ 1 นั่นเอง

3. ตัวแปรควบคุมอาจเป็นชนิด character ก็ได้ เช่น for (ch = ‘a’; ch<‘z’; ch + +) printf(“asscii = %c decimal = %d”, ch, ch); หมายความว่า ให้พิมพ์รหัส asscii กับค่า decimal ของตัวอักษร a ถึง z ออกมาบนหน้าจอ

4. ตัวแปรควบคุมสามารถมีได้มากกว่า 1 ตัวแปร เช่น for (x = 0, y = 0; x + y <= 100; x++, y++) printf(“%d \n “, x + y); หมายความว่า ตัวแปร x, y จะทำหน้าที่เป็นตัวควบคุมการทำงานของวงจรทั้ง 2 ตัว โดยจะหยุดการทำงานเมื่อ x + y มีค่ามากกว่า 100 และค่า x, y จะเพิ่มขึ้นครั้งละ 1 เสมอ

5. ถ้ามีการละส่วนของ การปรับเปลี่ยนค่า จะทำให้เกิดการทำงานเป็นวงจรซึ่งค่าของตัวแปรควบคุมจะไม่เปลี่ยนแปลงและจะออกจาก loop เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ เช่น for (x=0; x != 100; ) { printf(“ Enter value x = “); scanf(“%d”, &x); }

6. ถ้าไม่มี การกำหนดค่าเริ่มต้น เงื่อนไข และ การเปลี่ยนแปลงค่า (ตัวควบคุม) จะเป็นการสั่งให้ทำงานเป็น loop โดยไม่รู้จบ เช่น for ( ; ; ) printf(“Hello \n”); ซึ่งถ้าต้องการให้จบ ก็ทำได้โดยใช้คำสั่ง break เข้ามาช่วย เช่น { scanf(“%d” &x); if( x == 999) break; } printf(“End of job”);

7. คำสั่ง for สามารถมีคำสั่ง for ซ้อนอยู่ภายในได้อีก เช่น for (x=1; x <=3; x + +) { printf (“x = %d \n”, x); for (y=1; y<=5; y+ +) printf(“y = %d “, y); }

แบบฝึกหัด เขียนโปรแกรมเพื่อพิมพ์ค่าเลขคู่ จาก 0 ถึง 100 ออกทางจอภาพ