โรคของระบบไหลเวียนโลหิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
BURN หมายถึง บาดแผลที่เกิดจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ความร้อนหรือประกายจากกระแสไฟฟ้า เป็นเหตุให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อบาดเจ็บ มีผลให้เกิดอาการช็อค เนื่องจากสูญเสียน้ำเป็นจำนวนมาก.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)
โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
Thailand Research Expo
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
I. โรคผิวหนัง 1.1. เกิดจากปาราสิตภายนอก เช่น
โรคที่สำคัญในไก่.
II. Chronic Debilitating diseases
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคฝีดาษไก่ (Pox disease)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
Myasthenia Gravis.
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคของระบบไหลเวียนโลหิต 1. Infectious Bursal Disease 2. Leukosis and Sarcoma 3. Marek’s disease 4. Avian malaria 5. Leucocytozoonosis 6. Chicken anemia 7. Reovirus infection

Avian Leukosis and Sarcoma เป็นโรคเนื้องอกที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะในไก่ >20wk ทำให้เกิดการแพร่ขยายของเซลเม็ดเลือดขาว ชนิดลิมโฟซัยท์ และทำให้เกิดเนื้องอกของเนื้อเยื่ออวัยวะอื่นๆ ซึ่งที่พบได้บ่อย คือ เกิดเนื้องอกที่ตับ บางครั้งเรียก โรคตับโต พบได้ในไก่ เป็ด ห่าน ไก่ฟ้า นกคานารี เป็นต้น

การติดต่อ อาการ 1. Vertical transmission 2. Horizontal transmissionเป็นโรคที่มีระยะฟักตัวนานมาก 16-24 wk. อาการ แบบที่ 1 (Lymphoid Leukosis/Big Liver disease) ซึม เดินช้าๆ เดินเขยก ก้าวขาไม่ถนัด อัมพาตที่ปลายเท้า บางครั้งอ้าปากหายใจ (แต่ไม่มีเสียงดัง) นัยน์ตาขุ่นมัว บางตัวซีด/คล้ำ, ขาดน้ำ ~ Marek’s disease.

แบบที่ 2 (Erythroblastosis) อ่อนเพลีย ซีดเล็กน้อย ต่อมาเลือดคั่งที่หงอน cyanosis เบื่ออาหาร มีจุดเลือดออกที่ผิวหนัง ต่อมาจะซีดทั่วร่างกาย แบบที่ 3 (Myelocytomatosis) กระดูกมีรูปร่างผิดปกติ โดยเฉพาะในส่วนของรอยต่อ เช่น กระโหลก หน้าแข้ง อก แบบที่ 4 (other tumors)

โรคมาเร็กซ์ (Marek’s disease) เป็นโรคที่มีการทวีจำนวนของเซลเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟซัยท์ เกิดเนื้องอกที่อวัยวะภายใน พบในสัตว์ปีกอื่นๆ, หนูนา แฮมสเตอร์ และหนูตะเภา การติดต่อ 1. สัมผัส : สะเก็ด รังแค ขนอุย โรคแพร่ โดยฝุ่นจากโคนขนของไก่!!!!! 2. air borne

อาการ 1. แบบเฉียบพลัน เริ่มได้รวดเร็ว หากไม่ได้ทำวัคซีนอาจพบอาการได้ตั้งแต่อายุ 14 วัน ไก่อายุน้อย ทำลายทั้ง Thymus และ Bursa >>กดการสร้างภูมิคุ้มกัน มีอาการในระบบหายใจ ชัก คอบิด มักพบว่าผิวหนังมีก้อนเนื้องอกแทรก ตุ่มขนโต การเจริญของขนผิดปกติ

2. แบบเรื้อรัง (แบบแสดงอาการชัดเจน) 2. แบบเรื้อรัง (แบบแสดงอาการชัดเจน) โรคจะปรากฎช้าๆ ทำให้ไก่ทยอยตายนับเป็นสัปดาห์หรือเดือน มักเป็นในไก่อายุมาก 8-9 wk หรือ 10-16 wk. wbc แทรกในเนื้อเยื่อและเส้นประสาท 1. sciatic nerve อักเสบ (โคนขา) ทำให้ขาเป็นอัมพาต 2. vagus nerve อักเสบ (หลอดอาหารและกระเพาะ) ทำให้กลืนอาหารไม่ได้ ซากผอมแห้ง

ขบวนการการติดตั้งเชื้อมาเร็กซ์ MDV feather debris Infection of respiratory tract (day 1) Infection of lymphoid tissues (day 3-7) Lymphoreticulitis, Lymphbid atrophy Immunosuppression (day 7 / day 21+) Productive infection of feather follicle epithelium (day 5+) Cell-associated viremia (day 5+) Peripheral nerve lesions (day 10+) neurolymphomatosis Visceral lumphomas (day 14+) Atherosclerosis

3. อาการตาบอด/โรคตาสีเทา/โรคตาไข่มุก เนื่องจากเซลเม็ดเลือดขาวแทรกอยู่ในรูม่านตาทำให้รูม่านตา ไม่ตอบสนองต่อแสง บอด * โรคมาเร็กซ์และลิวโคซิสจะคล้ายกันมาก ต่างกันที่จะพบวิการเส้นประสาทอักเสบเฉพาะใน MD เท่านั้น ในสเตรนที่รุนแรงมาก ๆ พบอาการในกลุ่มที่ทำวัคซีนตั้งแต่อายุน้อยได้ ( 6 สัปดาห์) การรักษา ไม่มี

การป้องกัน ปัจจัยหลัก ความสะอาด และการล้างเล้า การจัดการช่วยลดปัญหาได้ ความสะอาด และการล้างเล้า การจัดการช่วยลดปัญหาได้ เลี้ยงไก่เล็กแยกจากแหล่งที่มีการติดเชื้อสูง อย่างน้อย 6 สัปดาห์ ฝุ่นเป็นแหล่งของเชื้อโรค แมลงปีกแข็ง

วัคซีนลดความเสียหายของโรคโดย ลดการเพิ่มจำนวนเชื้อใน Feather follicle ทำให้ ลดการเพิ่มจำนวนเชื้อในไก่ และลดจำนวนเชื้อในสิ่งแวดล้อม ป้องกันการเกิดเนื้องอกที่อวัยวะภายในและ เส้นประสาท ป้องกันการทำลายระบบภูมิคุ้มกัน