Supply-side Effects of Fiscal Policy.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
การคลังและนโยบาย การคลัง
การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การบริโภค การออม และการลงทุน
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
นโยบายและเป้าหมายในการบริหาร ระบบเศรษฐกิจ
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
ทฤษฎีการผลิต.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Supply-side Effects of Fiscal Policy

Demand Side Effects ทบทวนวรรณกรรม Keynesian approach และ Crowding out Multiplier effect on AD ราคาที่คงที่และความสามารถที่ยังเหลือ (Price rigidity and excess capacity) การกำหนดการลงทุนเอกชน อุปสงค์ของเงิน (Money demand and monetary policy) การเปิดประเทศและอัตราแลกเปลี่ยน

Non-Keynesian effects of fiscal policy ทบทวนวรรณกรรม Non-Keynesian effects of fiscal policy Rational expectations (Forward adjustment) นโยบายการคลังมีผลทั้งใน ระยะสั้นและยาว Ricardian Equivalence ถ้าผู้บริโภคเป็น forward looking และรู้ผลของนโยบายรัฐอย่างดี

Supply Side Effect ทบทวนวรรณกรรม ภาษี รายจ่ายรัฐบาล และการเจริญเติบโต New Classical Models เชื่อว่าการผันผวนของผลผลิตเป็นผลมาจากด้านอุปทานไม่ใช่อุปสงค์ (Lucas Model 1975; Sargent and Wallace 1975) ทุกๆ อย่างที่เกิดจากด้านอุปสงค์ที่ถูกคาดการณ์ไว้อย่างเต็มที่แล้วและไม่มีผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไม่ว่าในระยะสั้นและระยะยาว การเพิ่มของผลผลิตจะเกิดจากอุปทานอย่างเดียว ผลจากการจัดการด้านอุปสงค์ที่มีต่อผลผลิตเกิดจากสิ่งที่ไม่ได้คาดการณ์ เช่นราคาน้ำมัน ฯลฯแต่จะมีผลผ่านด้านอุปทาน

ผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทาน จากมุมมองด้านอุปทาน อัตราภาษีส่วนเพิ่ม (marginal tax rate) มีความสำคัญต่อการปรับตัวอย่างมาก: การลดลงของอัตราภาษีทำให้เสมือนแรงงานได้รับรางวัลจากการทำงานเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันด้านการลงทุน การออม และกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ จะถูกเก็บภาษีน้อยลง อัตราภาษีที่เพิ่มขึ้นจะบิดเบือนผลผลิตเพรา: ไม่ส่งเสริมการทำงานและลดผลิตภาพ (productivity) ของแรงงาน ส่งผลทางลบแก่การสะสมทุนและการใช้ทุนให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้บุคคลทดแทนการลดหย่อนภาษีในสิ่งที่ไม่ปรารถนามากขึ้นเพื่อเป็นการหลบหรือหลีกเลี่ยงการเสียภาษีมากขึ้น

ผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทาน การเพิ่มอัตราภาษีอาจทำให้มีผลต่อ อุปทานมวลรวม aggregate supply เพราะการเปลี่ยนแปลงจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ของปัจจัยการผลิตเพื่อหลีกเลี่ยงภาษี ผลต่อด้านอุปทาน: มักใช้เวลานานกว่าจะเห็นผลที่แท้จริง มีตัวอย่างประเทศที่มีอัตราภาษีสูงจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่น้อยกว่าประเทศที่มีอัตราภาษีต่ำ ยังเป็นข้อถกเถียงถึงผลจากด้านอุปทานว่าที่แท้จริงคืออะไร แต่บทเรียนต่างประเทศแสดงให้เห็นว่าประเทศที่มีอัตราภาษีสูงมากๆ จะมีการขยายตัวเศรษฐกิจต่ำกว่า

สินค้าและบริการ (real GDP) นโยบายด้านอุปทานและการขยายตัวเศรษฐกิจ LRAS1 LRAS2 ระดับราคา SRAS1 AD2 SRAS2 เมื่อมีการลดอัตราภาษีจะส่งเสริมให้มีการขยายตัวเศรษฐกิจ (shifting LRAS and SRAS out to LRAS2 and SRAS2). E1 P0 E2 AD1 สินค้าและบริการ (real GDP) YF1 YF2 การลดภาษีเพิ่มแรงจูงใจในการหาและใช้ปัจจัยการผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น AD1 shifts out to AD2, and SRAS & LRAS shift to the right. หากการลดภาษีเป็นการทำให้เกิดการขาดดุลการคลัง AD อาจขยายตัวมากกว่า supply, นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของระดับราคา.

The Lucas Supply Function The Lucas supply function เป็นสมการด้านอุปทานที่แสดงว่า ผลผลิต (Y) ขึ้นกับความแตกต่างระหว่างราคาแท้จริง (P) และราคาที่คาดการณ์ (Pe):

The Lucas Supply Function ความแตกต่างของทั้งสองราคาดังกล่าวคือ price surprise.

The Lucas Supply Function

The Lucas Supply Function Rational-expectations theory, ที่ผสมผสานกับ Lucas supply function, นำไปสู่ข้อเสนอในบทบาทของภาครัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ

Supply-Side Economics

The Laffer Curve Laffer curve แสดงความสัมพันธ์อัตราภาษี ณ ระดับหนึ่งที่หากมีอัตราเกินระดับดังกล่าวทำให้รายได้ภาษีจะลดลงแม้เมื่อมีการเพิ่มอัตราภาษีขึ้นก็ตาม

The Laffer Curve The Laffer curve แสดงจำนวนรายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บที่ขึ้นกับอัตราภาษี

The Laffer Curve เมื่ออัตราภาษีสูงขึ้นอาจส่งผลให้รายได้ภาษีลดลง ทำนองเดียวกันการลดภาษีอาจสร้างแรงจูงใจกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นำไปสู่รายได้อื่นเพิ่มขึ้น

ข้อวิจารณ์ supply side economic ผลของการลดภาษีมีผลต่อเศรษฐกิจและอุปทานของแรงงานน้อย ผลจากการลดภาษีต่อครัวเรือนนั้นหลังจากภาษีเพิ่มขึ้น อาจมีได้ทั้งสองทางคือเพิ่มการทำงานหรือลดการทำงาน โดยผลสุทธิขึ้นกับ income and substitution effects.