ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
BURN หมายถึง บาดแผลที่เกิดจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ความร้อนหรือประกายจากกระแสไฟฟ้า เป็นเหตุให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อบาดเจ็บ มีผลให้เกิดอาการช็อค เนื่องจากสูญเสียน้ำเป็นจำนวนมาก.
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Formulation of herbicides Surfactants
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
II. Post harvest loss of cereal crop
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
สัมมนาทางชีวิทยา เสนอ อ. ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น. ส
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในข้าวสุก
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การป้องกันกำจัดหอยทาก
โรงเรียนวัดคุ้งยาง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัยเขต 2
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
วิธีหมัก หมัก 3 วัน เติมออกซิเจน.
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การเจริญเติบโตของพืช
Welcome to .. Predator’s Section
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท เชื้อราบิวเวอเรีย Beauveria bassiana ยันต์ยงศ์ ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท

เชื้อราบิวเวอเรีย บิวเวอเรีย เป็นจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นเชื้อราปฏิปักษ์ สามารถทำลายแมลงหรือทำให้เกิดโรคกับแมลงหลายชนิด ลักษณะของเส้นใย และสปอร์มีสีขาวหรือสีครีมซีด จัดเป็นเชื้อประเภท Saprophyte อาศัยและกินเศษซากที่ผุพัง

เจริญ เพิ่มปริมาณ ผลิตเอนไซม์ที่เป็นพิษ คุณสมบัติ เชื้อราฯ สัมผัสตัวแมลง สภาพแวดล้อมเหมาะสม งอกเข้าสู่ตัวแมลง เจริญ เพิ่มปริมาณ ผลิตเอนไซม์ที่เป็นพิษ แมลงอ่อนแอ ป่วย ตาย

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ความชื้นสัมพัทธ์ 80 เปอเซนต์ขึ้นไป อุณหภูมิ 20-27 องศาเซลเซียส ตายภายใน 4-14 วัน

เชื้อราเข้าสู่แมลงอย่างไร สปอร์งอก (germ tube)แทงทะลุผ่านผนัง หรือช่องว่างบนลำตัว โดยเฉพาะบริเวณข้อต่อของแมลงที่มีผนังบาง เส้นใยของเชื้อราจะเข้าสู่เนื้อเยื่อของแมลง โดยอาศัยน้ำย่อยต่าง ๆ -ไลเปส (Lipase) -โปรติเนส (Proteinase) -ไคติเนส (Chitinase)

การออกฤทธิ์ทำลายแมลง เพิ่มปริมาณ และสร้างเส้นใย ผลิตเอ็นไซม์ที่เป็นพิษ เป็นอัมพาตและตาย พัฒนาเส้นใยแล้วแทงออกมานอกตัวแมลง

อาการของแมลงที่ติดเชื้อ เบื่ออาหาร กินอาหารน้อยลง อ่อนแอ และไม่เคลื่อนไหว 2. ผนังลำตัวตรงที่เชื้อทำลายปรากฏจุดสีดำ 3. มีเส้นใยและผงสีขาวปกคลุมลำตัว

ศัตรูพืชที่ควบคุม เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล หนอนผีเสื้อศัตรูพืชต่าง ๆ หนอนห่อใบข้าว เพลี้ยจั๊กจั่นต่างๆ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ ไรแดง ด้วงงวง

การผลิตเพื่อนำไปใช้ เชื้อสดบนเมล็ดธัญพืช -ข้าวฟ่าง –ข้าวโพด -ข้าวเปลือก ผลิตภัณฑ์ -ผงสปอร์แห้ง -ผงสปอร์แห้ง

การนำไปใช้ เชื้อสด 1-2 ก.ก./น้ำ 20 ลิตร เชื้อสด+น้ำ 5 ลิตร ก่อน คนให้สปอร์หลุด กรอง แล้วนำไปผสมน้ำอีก 15 ลิตร ผสมสารจับใบ แล้วคนให้เข้ากัน นำไปฉีดพ่น

หลักการใช้ พ่นให้ถูกตัวแมลง พ่นเวลาเย็น แดดอ่อน พ่นเวลาแมลงออกหากิน พ่นเวลาแมลงออกหากิน ให้น้ำแปลงพืชก่อน 1 ช.ม. สำรวจ/พ่นซ้ำ 5-7 วัน

ความรุนแรงในการทำลาย ปริมาณสปอร์ที่ถูกตัวแมลง สภาพแวดล้อมขณะที่ใช้ ปริมาณของเชื้อที่เจริญออกมาภายนอก ถ้าอุณหภูมิ 37องศาเซลเซียสขึ้นไปและความชื้นสัมพัทธ์น้อยกว่า 15 เปอเซ็นต์ เชื้อจะไม่เจริญ

การเก็บรักษา เก็บในร่ม อุณหภูมิปกติ นาน 20-30 วัน เก็บในอุณหภูมิปกติ 7-10 องศาเซลเซียส นาน 3 เดือน เก็บนาน เส้นใยจะอัดกันแน่น ไม่เก็บในที่ชื้นแฉะหรือน้ำขัง

ข้อควรระวัง เชื้อราบิวเวอเรีย ทำให้เกิดโรคกับแมลงได้อย่างกว้างขวาง รวมทั้งแมลงศัตรูธรรมชาติด้วย กรณีต้องใช้แมลงศัตรูธรรมชาติ ควรทิ้งระยะเวลาห่างกัน อย่างน้อย 7-10 วัน

จบไม่บริบูรณ์ สวัสดี