User Interface Management อาจารย์สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา
เนื้อหา ความหมายของสื่อประสานกับผู้ใช้ องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ ระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management System: UIMS) การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design) รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode) การออกแบบการจัดวางและการแสดงผล (Layout and Display Design) รูปแบบอื่น ๆ ของสื่อประสานกับผู้ใช้ ระบบสารสนเทศภูมิภาค (Geographic Information System: GIS)
ความหมายของสื่อประสานกับผู้ใช้ สื่อกลางในการติดต่อและโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งทางฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ User Interface Command Line Graphic User Interface (GUI) Natural Language รูปแสดงส่วนประกอบของสื่อกลางในการติดต่อและโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ Task Knowledge Presentation Language Interpret the display Generate the display Application Process Process the content Interpret the user input Plan and take action Action Language System
องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ : User องค์ความรู้ (Knowledge) ภาษาการกระทำ (Action Language) รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode/Style) ปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้ใช้ (User ‘s Reaction)
องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ : Computer บทโต้ตอบ (Dialog) การประมวลผลของคอมพิวเตอร์ (Computer Processing) ภาษาการนำเสนอ (Presentation Language) ข้อความ รูปภาพ กราฟ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ แสง สี เสียง
ระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management System: UIMS) ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการจัดการสื่อประสานที่จะนำเสนอผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของระบบสนับสนุนการตัดสินใจไปยังผู้ใช้ในรูปแบบต่าง ๆที่เหมาะสม โดยจะติดต่อกับระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานแบบจำลอง และระบบจัดการฐานองค์ความรู้ เพื่อนำข้อมูลที่ประมวลผลได้ตามคำสั่งของผู้ใช้มาแสดงผล
การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design) สิ่งที่เราจำเป็นต้องคำนึงถึงการออกแบบคือ การใช้งานจริงของผู้ใช้ เวลาในการเรียนรู้ระบบ ความสามารถในการใช้ร่วมกับระบบอื่นๆ ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระดับความต้องการของผู้ใช้ มาตรฐานการใช้คำสั่ง ความง่ายในการใช้งานระบบ การรับ และส่งออกข้อมูลจากระบบ ออกแบบไอคอน และสัญลักษณ์ต่าง ๆที่เหมาะสม การออกแบบหน้าจอที่สวยงาม น่าใช้ ลำดับขั้นตอนการทำงานไม่ซับซ้อน
รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode) การโต้ตอบด้วยคำสั่ง (Command Language Interaction) การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) การโต้ตอบด้วยแบบฟอร์ม (Form Interaction) การโต้ตอบด้วยการทำงานเชิงวัตถุ (Object-Based Interaction) การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์ (Natural Language Interaction)
การโต้ตอบด้วยคำสั่ง (Command Language Interaction) การโต้ตอบกับระบบโดยที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คำสั่งลงในช่องป้อนคำสั่ง เพื่อกระตุ้นให้ระบบทำงาน เช่น ระบบปฏิบัติการ DOS, UNIX เป็นต้น
การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) 1 2 Pull-Down Menu Pop-Up Menu
การโต้ตอบด้วยแบบฟอร์ม (Form Interaction) ผู้ใช้ระบบจะต้องป้อนข้อมูลลงในช่องว่างที่อยู่ในแบบฟอร์มที่แสดงทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับการกรอกแบบฟอร์มลงกระดาษ
การโต้ตอบด้วยการทำงานเชิงวัตถุ (Object-Based Interaction) เป็นการโต้ตอบกับระบบที่ใช้สัญลักษณ์ ใช้รูปภาพแทนคำสั่งทำงาน หรือเรียกว่า “ไอคอน (Icon)”
การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์ (Natural Language Interaction) Check E-mail You got 10 E-mail Read First E-mail E-mail From … Subject … Detail …
การออกแบบการจัดวางและการแสดงผล (Layout and Display Design) การจัดจอภาพคอมพิวเตอร์ การเชื่อมโยงการป้อนข้อมูลแต่ละราย โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) การตอบสนองของระบบ (Providing Feedback) การแสดงส่วนช่วยเหลือ (Help) การแสดงผลแบบมีสีและขาวดำ
การจัดจอภาพคอมพิวเตอร์ Title Zone Menu Zone Tools Zone Body Zone Message/Status Zone
การเชื่อมโยงการป้อนข้อมูลแต่ละราย เราต้องกำหนดลำดับในการป้อนข้อมูลให้สอดคล้อง ไม่ควรกำหนดลำดับสลับไปมาโดยไม่มีนัยสำคัญ
โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) การกำหนดค่าเริ่มต้น (Default) หน่วยของข้อมูล (Unit) คำอธิบายต่างๆ (Caption) รูปแบบ (Format) การจัดวาง (Justify) ส่วนช่วยเหลือ (Help) การติดต่อกับผู้ใช้ในการป้อนข้อมูลด้วยกราฟิก (Graphic User Interface : GUI)
โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) ข้อมูลบางส่วนที่มีแล้วในฐานข้อมูล ก็ไม่ควรที่ผู้ใช้จะต้องพิมพ์เข้าไปใหม่ เช่น ข้อมูลลูกค้า เมื่อใส่รหัสลงไป ก็ควรที่จะแสดงข้อมูลประวัติลูกค้าออกมา โดยไม่จำเป็นต้องกรอกข้อมูลเข้าไปใหม่ การกำหนดค่าเริ่มต้น (Default) การกรอกข้อมูล เช่น รหัสนิสิต มีความยาว 8 ตัวอักษร เมื่อกรอกครบ 8 ตัวอักษร ก็ให้ทำการเปลี่ยนโฟกัส ไปยังฟิลด์อื่นๆ ที่ต้องการบันทึกข้อมูลต่อไป หรือ การกำหนดรูปแบบเมื่อป้อนตัวเลข 1000 ระบบควรมีการเปลี่ยนเป็น 1,000 โดยอัตโนมัติ
โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) หน่วยของข้อมูล (Unit) ในการกรอกข้อมูล หน่วยของข้อมูลเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เช่น ระบบต้องการให้บันทึกข้อมูลมีหน่วยเป็น กิโลกรัม แต่นิสิต มีข้อมูลเป็นตัน ก็ต้องเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม และถูกต้องตามความต้องการของระบบ คำอธิบายต่างๆ (Caption) เราต้องมีการเขียนคำอธิบายต่างๆ ให้ผู้ใช้ทราบว่าข้อมูลในฟิลด์นี้ จัดเก็บข้อมูลใด สามารถทำได้โดยการเขียนคำอธิบาย หรือ ฉลาก กำกับไว้
โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) รูปแบบ (Format) การจัดเรียงลำดับการกรอกข้อมูล การกำหนดคำอธิบาย และส่วนอื่นๆ ต้องมีการกำหนดให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน การจัดวาง (Justify) การจัดวางต้องสวยงาม เป็นระเบียบ ใช้งานง่าย และอ่านง่าย เช่นตัวเลขชิดขวา หากเป็นตัวหนังสือชิดซ้าย ส่วนช่วยเหลือ (Help) การติดต่อกับผู้ใช้ในการป้อนข้อมูลด้วยกราฟิก (Graphic User Interface : GUI)
การติดต่อกับผู้ใช้ในการป้อนข้อมูลด้วยกราฟิก (Graphic User Interface : GUI) ตัวอย่างการออกแบบ
(Graphic User Interface : GUI) ตัวอย่างการออกแบบ Label Text box Radio Button Check box
(Graphic User Interface : GUI) ตัวอย่างการออกแบบ List box Combo box
การตอบสนองของระบบ (Providing Feedback) การแจ้งสถานะการทำงาน (Status Information) การแสดงความพร้อมในการรับคำสั่ง (Prompting Cues) ข้อความแจ้งเตือนเมื่อมีข้อผิดพลาด (Error/ Warning Messages)
การแจ้งสถานะการทำงาน (Status Information) แสดงให้ผู้ใช้เห็นว่า ยังมีการประมวลผลการทำงานอยู่ เนื่องจากบ่อยครั้ง ที่เราเขียนโปรแกรม โดยไม่ได้แสดงเห็นถึงสถานะ ปัจจุบันว่าระบบกำลังทำงานอะไรอยู่ ทำให้ผู้ใช้เข้าใจผิด ว่าเครื่องของเราแฮงค์ ปกติจะแสดงเป็น นาฬิกาทราย Progress bar และ ตัวเลขแสดงเปอร์เซ็นต์การทำงาน
การแสดงความพร้อมในการรับคำสั่ง (Prompting Cues) มีการแสดงข้อความพร้อม ให้ผู้ใช้ทราบ และมีการอธิบาย Field หรือ Caption ที่กำหนด
ข้อความแจ้งเตือนหรือมีข้อผิดพลาด (Error/ Warning Messages) เราจำเป็นต้องมีการแจ้งเตือน เมื่อมีการทำงานที่ต้องการยืนยัน หรือในกรณีที่เกิดข้อผิดพลาดขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้ได้ทราบ และทำการตัดสินใจ ผิด ถูก
การแสดงส่วนช่วยเหลือ (Help) สามารถเข้าใจได้ง่าย (Simplicity) มีการจัดรูปแบบอย่างเป็นระเบียบ มีการแสดงตัวอย่าง (Show)
การแสดงผลแบบมีสีและขาวดำ ข้อดีของการแสดงผลแบบมีสี สามารถแสดงความรู้สึกได้ สามารถแสดงให้เห็นถึงจุดที่เน้น หรือ สำคัญได้ ปัญหาที่เกิดจากการแสดงผลแบบมีสี ไม่สามารถใช้ได้กับผู้ใช้ที่มีอาการตาบอดสี ความละเอียดของสีอาจมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อใช้อุปกรณ์ต่างชนิดกัน
รูปแบบอื่น ๆ ของสื่อประสานกับผู้ใช้ กราฟิก (Graphics) มัลติมีเดียและไฮเปอร์เท็กซ์ (Multimedia and Hypertext) ระบบความจริงเสมือน (Virtual Reality System) การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing)
กราฟิก (Graphics) เป็นการนำเสนอข้อมูลหรือผลลัพธ์ด้วยรูปภาพหรืออาจเป็นรูปภาพผสมข้อความ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถทราบความหมายของข้อมูลและสารสนเทศที่นำเสนอได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
มัลติมีเดียและไฮเปอร์เท็กซ์ (Multimedia and Hypertext) เช่น เสียง (Sound) ข้อความ (Text) ภาพกราฟิกต่างๆ (Graphics) รวมถึงสื่อชนิดอื่นๆ ด้วย ไฮเปอร์เท็กซ์ ก็คือ ข้อความหรือกลุ่มของข้อความที่ทำหน้าที่เป็นจุดเชื่อมต่อข้อมูลจากเอกสารหน้าหนึ่งไปสู่เอกสารอีกหน้าหนึ่ง ซึ่งการเชื่อมโยงนี้เป็นการเชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลอื่นๆ Hypertext
ระบบความจริงเสมือน (Virtual Reality System) ระบบความเป็นจริงเสมือน หมายถึง ระบบที่ช่วยให้ผู้ใช้ระบบเคลื่อนไหวและมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสภาพแวดล้อมที่ถูกจำลองขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ได้ (Computer-Simulated Environment)
การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) การประมวลผลภาษาธรรมชาติ เป็นการนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence AI) มาประยุกต์ใช้เพื่อให้มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้คำพูดภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นๆ ที่ได้รับการพัฒนา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาไทย เป็นต้น โดยอาจพูดผ่านอุปกรณ์ไมโครโฟน เพื่อนำสัญญาณเสียงพูดของผู้ใช้เข้าสู่ระบบประมวลผลภาษาธรรมชาติ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) ระบบสารสนเทศที่มีพื้นฐานการทำงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ การจัดการกับข้อมูลที่ได้มาให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ (Capturing) การจัดเก็บ (Storing) การตรวจสอบ (Checking) การประสาน (Integrating) การจัดกระทำ (Manipulating) การแสดงผล (Display) ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือแสดงผลเป็นแผนที่ (Mapping) ได้
องค์ประกอบหลักของ GIS การนำเข้าข้อมูล (Data Input) การจัดการข้อมูล (Data Management) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) การแสดงผล (Data Display)
ซึ่งผลการวิเคราะห์จะนำไปใช้ในการวางแผนและการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องอาศัยปัจจัยดังนี้ ชุดข้อมูล (Data) การจัดเก็บข้อมูล (Data Storage) แบบจำลอง (Model) นิสิตกรุณาจดเพิ่มด้วยค่ะ
GIS Database ฐานข้อมูลที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ฐานข้อมูลที่ใช้จัดเก็บแผนที่ ฐานข้อมูลที่ใช้จัดเก็บรายละเอียด หรือสารสนเทศบนแผนที่