ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผล ต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชาคมอาเซียน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
น้ำและมหาสมุทร.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
แผ่นดินไหว.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
World Time อาจารย์สอง Satit UP
ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานฯ
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
หลักการทรงงาน รัชกาลที่ 9.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผล ต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว 2 บทที่ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผล ต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ 1. ความหมายของภูมิศาสตร์ และภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว ภูมิศาสตร์ (Geography) หมายถึง การศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับ คุณลักษณะเฉพาะของสถานที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์จึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับทางสังคมที่ปรากฏอยู่ในดินแดนต่างๆ ของโลก ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว (Geography of Tourism) หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ และอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีต่อการท่องเที่ยว เป็นการศึกษาสภาพทั่วไปทางด้านภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการท่องเที่ยว เพื่อนำไปใช้วางแผนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวให้ได้ประโยชน์สูงสุด

2. การประยุกต์ใช้ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว การศึกษาด้านการท่องเที่ยว เป็นการบูรณาการร่วมกันในหลากหลายศาสตร์ เพื่อให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ภูมิศาสตร์สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการท่องเที่ยว (ธนวัฒน์ ขวัญบุญ, 2557) ได้ดังต่อไปนี้ 1) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ 2) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ 3) การนำไปใช้ในด้านอื่นๆ

3. องค์ประกอบทางภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว พื้นที่ระหว่างการเดินทาง (Transit Route Region) พื้นที่ที่เป็นภูมิลำเนาของนักท่องเที่ยว (Tourist-Generating Regions   พื้นที่ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว (Tourist Destination Region)

4. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการท่องเที่ยว ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคทั่วโลก ก่อให้เกิดความหลากหลายทางภูมิทัศน์ทางธรรมชาติ และวัฒนธรรม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยว ทั้งนี้ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อกิจกรรมการท่องเที่ยว แบ่งออกเป็น 2 ประการ ดังนี้ 4.1 ปัจจัยทางธรรมชาติ หรือปัจจัยทางด้านกายภาพ (Physical Factors) ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ 4.2 ปัจจัยทางวัฒนธรรม (Cultural Factors) การประกอบอาชีพ วิถีชีวิต ประเพณี และกิจกรรม การคมนาคม

ความสัมพันธ์ของลักษณะทางภูมิศาสตร์กับทรัพยากรการท่องเที่ยว ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวได้นั้น จำเป็นต้องมีคุณสมบัติบางประการที่สามารถตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจให้กับนักท่องเที่ยว โดยคุณสมบัติดังกล่าวส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ โดยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกัน ก่อให้เกิดทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่มีเสน่ห์และมีความหลากหลายจนเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยวได้มาก ทั้งนี้ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว มีดังต่อไปนี้ 1. ภูมิประเทศที่มีผลต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว 2. ภูมิอากาศที่มีผลต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว

1. ภูมิประเทศที่มีผลต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว การผันแปรของเปลือกโลก การผันแปรที่เกิดจากพลังงาน ภายในโลก การผันแปรที่เกิดจากการกระทำ จากภายนอก กระบวนการแปรโครงสร้าง ของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ภูเขาไฟ กระบวนการ ปรับระดับ การลดระดับ การเพิ่มระดับ การกัดเซาะ การทับถม การพัดพา การบีบตัวคดโค้ง การยกตัว การทรุดตัว ภูเขาไฟ น้ำพุร้อนกีเซอร์ บ่อโคลนเดือด แผ่นดินไหว สึนามิ

การผันแปรของเปลือกโลกทั้ง 2 รูปแบบดังกล่าว ก่อให้เกิดลักษณะภูมิประเทศแบบต่างๆ ซึ่งสามารถ จำแนกได้ 2 ประเภทคือ ภูมิประเทศหลัก และภูมิประเทศรอง ซึ่งลักษณะภูมิประเทศทั้ง 2 แบบ เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยว เนื่องจากนักท่องเที่ยวต้องการเยี่ยมชมความสวยงามและแปลกตาของภูมิประเทศดังกล่าว โดยลักษณะของภูมิประเทศหลัก และภูมิประเทศรองที่มีความสัมพันธ์กับการท่องเที่ยว มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.ลักษณะภูมิประเทศหลัก ประกอบด้วย 1.1 ภูมิลักษณ์แบบภูเขา 1) แบ่งตามโครงสร้างของภูเขา 1.1) ภูเขาหินแกรนิต 1.2) ภูเขาหินปูน 1.3) ภูเขาหินทราย ลักษณะของภูเขาหินแกรนิต อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ลักษณะของภูเขาหินปูน สวนหินผางาม ลักษณะของภูเขาหินทราย ภูหอ จังหวัดเลย

2) แบ่งตามลักษณะการเกิดของภูเขา ได้แก่ 2.1) ภูเขาโก่งตัว ลักษณะของภูเขาโก่งตัว เทือกเขารอกกี้ แคนาดา 2.2) ภูเขาบล็อก Table Mountain ประเทศแอฟริกาใต้ 2.3) ภูเขาโดม ภูเขารัชมอร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา 2.4) ภูเขาไฟ ภูเขาฟูจิยามา ประเทศญี่ปุ่น

ที่ราบเกรต เพลน (Great Plain) ประเทศสหรัฐอเมริกา 1.2. ภูมิลักษณ์แบบที่ราบ เป็นภูมิประเทศที่มีระดับต่ำ หรือมีความสูงแค่เพียงเล็กน้อย โดยจะมีระดับความจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 100 เมตร พื้นผิวของที่ราบอาจมีความราบเรียบหรือเป็นลูกคลื่นเล็กน้อย ทั้งนี้ที่ราบจะมีความสำคัญในเชิงการเกษตรและการตั้งถิ่นฐาน ที่ราบซึ่งปรากฏกระจัดกระจายอยู่ในส่วนต่างๆ ของโลก แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1) ที่ราบโดยโครงสร้าง (Structural Plain) ที่ราบชนิดนี้จะมีโครงสร้างของภูมิประเทศที่เป็นแอ่งต่ำของพื้นโลก และเป็นที่ราบที่เกิดจากการลดระดับต่ำโดยธรรมชาติที่แผ่ขยายออกไปเป็นวงกว้าง หินที่รองรับพื้นที่ราบจะวางตัวอยู่ในแนวนอนและไม่ถูกรบกวนจากแรงที่ทำให้ผิวโลกเกิดการเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลง ที่ราบประเภทนี้จะพบมากที่สุดในโลก เช่น ที่ราบรัสเซีย (Russian Platform) ประเทศรัสเซีย ที่ราบเกรต เพลน (Great Plain) ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น ที่ราบเกรต เพลน (Great Plain) ประเทศสหรัฐอเมริกา

2) ที่ราบโดยการทับถม (Depositional Plain) เป็นที่ราบที่เกิดจากกระบวนการทับถมของตะกอนที่ตัวการทางธรรมชาติพัดพามา ลักษณะโดย ทั่วไปจะค่อนข้างราบเรียบ แต่จะมีความลาดเอียงสูงขึ้นในด้านที่ติดต่อกับที่สูงที่อยู่ใกล้เคียง ที่ราบประเภทนี้จะมีความอุดมสมบูรณ์มาก เนื่องจากมีตะกอนทับถมอยู่ ที่ราบโดยการทับถม แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้ 2.1) ที่ราบที่เกิดจากการทับถมของแม่น้ำ ลักษณะของที่ราบลุ่มแม่น้ำ 2.2) ที่ราบที่เกิดจากธารน้ำแข็ง 2.3) ที่ราบที่เกิดจากคลื่น หาดเฉวง เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2.4) ที่ราบเกิดจากลม ที่ราบเลิสส์ (Loess Plain) ประเทศจีน

ลักษณะของที่ราบโดยกษัยการ (Erosional Plain) หรือการผันแปรของเปลือกโลก เป็นที่ราบที่เกิดจากกระบวนการสึกกร่อนพังทลายของเปลือกโลก และถูกพัดพาไปจากแหล่งกำเนิด ด้วยตัวกลางทางธรรมชาติต่างๆ เช่น ลม ธารน้ำแข็ง น้ำไหล น้ำฝน เป็นต้น ส่งผลให้ภูมิประเทศที่สูงชันมาก่อนราบเรียบและลดระดับความสูงลงมาจนกลายเป็นที่ราบในที่สุด ที่ราบแบบนี้มักจะอยู่ในรูปของ “พื้นเกือบราบ” เช่น ที่ราบลานเศษหินรอบเขา หรือลานเศษหินรอบเขา และที่ราบน้ำแข็งขัดถู เป็นต้น ลักษณะของที่ราบโดยกษัยการ (Erosional Plain)

2. ลักษณะภูมิประเทศรอง ประกอบด้วย 2.1 ภูมิลักษณ์แบบเกาะ มีลักษณะเป็นแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบ โดยแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1) การแบ่งตามลักษณะของการตั้งเกาะ โดยเกาะที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม จะเรียกว่า “หมู่เกาะ” เช่น หมู่เกาะอ่างทอง หมู่เกาะช้าง หมู่เกาะอังกฤษ เป็นต้น 2) การแบ่งตามตำแหน่งสถานที่ตั้งของเกาะ เช่น เกาะที่อยู่ใกล้กับ ชายฝั่งทะเล เรียกว่า “เกาะริมทวีป” ส่วนเกาะที่อยู่ไกลจากทวีปมากๆ เรียกว่า “เกาะกลาง มหาสมุทร” เช่น เกาะฮาวาย เป็นต้น 3) การแบ่งตามลักษณะการเกิดของเกาะ ได้แก่ เกาะที่เกิดจากภูเขาไฟ เรียกว่า “เกาะภูเขาไฟ” เกาะที่เกิดจากการสะสมของปะการัง

2.2 ภูมิลักษณ์แบบสายน้ำ 1)น้ำตก คือ น้ำที่ไหลผ่านบริเวณที่ที่ต่างระดับกัน และมักพบในบริเวณต้นน้ำลำธาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นที่ลาดชันบนภูเขา ความสวยงามของน้ำตกจะขึ้นอยู่กับปริมาณของน้ำและระดับความสูงต่ำของน้ำตกที่ตกลงมา 2) แก่ง คือ โขดหินขนาดต่างๆ ที่ขวางกั้นลำน้ำที่ไหลแรง จึงทำให้เกิดการกัดเซาะของท้องน้ำที่แตกต่างกัน ส่วนของหินที่แข็งแกร่งก็จะคงอยู่กลายเป็นโขดหินกระจัดกระจายอยู่ตามท้องน้ำ 3) น้ำพุ และน้ำพุร้อน น้ำพุ คือ น้ำที่ไหลขึ้นมาจากใต้ดินอันเนื่องมากจากการรวมตัวของน้ำใต้ดินที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น จนทำให้เกิดแรงดันน้ำไหลออกมาตามรอยแยกของชั้นหิน โดยความรุนแรงของน้ำที่พุ่งขึ้นมาจะแตกต่างกันตามปริมาณและแรงดันของน้ำที่เกิดขึ้น

2.3 ภูมิลักษณ์ทางทะเล 1)ชายหาด 2) ชายฝั่งทะเล ทั้งนี้ สามารถจำแนกชายฝั่งทะเลออกเป็น 5 ประเภท 2.1) ชายฝั่งทะเลยุบจม (Submerged Shoreline) 2.2) ชายฝั่งทะเลยกตัว (Emerged Shoreline) 2.3) ชายฝั่งคงระดับ (Neutral Shoreline) 2.4) ชายฝั่งทะเลรอยเลื่อน (Fault Shoreline) 2.5) ชายฝั่งทะเลแบบผสม (Compounded Shoreline) 3) อ่าว 4) แนวปะการัง หรือพืดหินปะการัง 4.1) หาดปะการัง 4.2) เทือกปะการังใกล้ฝั่ง 4.3) หมู่เกาะปะการัง

2.4 ภูมิลักษณ์ทางธรณีสัณฐาน 1) ถ้ำ 2) หินงอก หินย้อย ถ้ำคาร์ลสแบด แคเวิร์น (Carlsbad Cavern National Park) ตั้งอยู่ในรัฐนิวเม็กซิโก 2.4 ภูมิลักษณ์ทางธรณีสัณฐาน 1) ถ้ำ 2) หินงอก หินย้อย 3) สะพานหินธรรมชาติ ถ้ำซันดอง (Son Doong Cave) ประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นถ้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก สะพานอมตะเจี่ยงโจว (Jiangzhou Immortal Bridge) ประเทศจีน

2. ภูมิอากาศที่มีผลต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว ภูมิอากาศเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในการพิจารณาเลือกแหล่งท่องเที่ยว โดยลักษณะภูมิอากาศที่แตกต่างกัน ย่อมส่งผลให้เกิดทรัพยากรการท่องเที่ยวที่โดดเด่นแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวด้วย ทั้งนี้ ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดลักษณะภูมิอากาศ (ธนวัฒน์ ขวัญบุญ, 2557) ดังนี้ 1)เส้นละติจูด 2) ระดับความสูง 3) ลม 4) ระยะห่างจากทะเล 5) เส้นชันความสูง 5.1) เขตที่ไม่มีฤดูหนาว อยู่ในละติจูดต่ำ 5.2) เขตที่มีฤดูร้อนและฤดูหนาวอยู่ในบริเวณละติจูดกลาง 5.3) เขตที่ไม่มีฤดูร้อน อยู่บริเวณละติจูดสูง

จึงอาจสรุปได้ว่า ลักษณะภูมิอากาศตามเขตต่างๆ สามารถแบ่งได้เป็น 3 เขต ดังนี้ 1. เขตร้อน ลักษณะภูมิอากาศจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย 18 Co หรือ มากกว่า หากอุณหภูมิต่ำกว่านี้จะมีความหนาวเย็น 2. เขตอบอุ่น ลักษณะภูมิอากาศจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย ต่ำกว่า 18 Co และสูงกว่า 10 Co 3. เขตหนาว ลักษณะภูมิอากาศจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย ต่ำกว่าหรือ เท่ากับ10 Co