สัญลักษณ์แสดง ความอันตรายของสารเคมี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การนำเข้าสินค้าเกษตร ตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ
Advertisements

ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง ป้ายอักษร ภาพและเครื่องหมายของรถบรรทุกวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 26 พฤศจิกายน 2555.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
การจัดซื้อจัดจ้าง.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Gas Turbine Power Plant
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคต้น ปีการศึกษา 2560
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง ระบบดับเพลิง และการตั้งกระป๋องน้ำมัน ถังน้ำมัน และถังเก็บน้ำมันขนาดเล็ก ไว้ในอาคารเก็บน้ำมันโดยเฉพาะที่มีระบบดับเพลิง พ.ศ.
Basic Input Output System
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ระบบทำความเย็น.
พิธีการส่งของออกทางบกที่ด่านศุลกากร
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 5 พฤศจิกายน 2561
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
ประกาศกระทรวงพลังงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 ตุลาคม 2561
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัญลักษณ์แสดง ความอันตรายของสารเคมี

การจัดทำป้ายคำเตือนและกำหนดสัญลักษณ์แสดงอันตราย (Safety Signs) Herbert William Heinrich ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรมชาวอเมริกัน พบว่าอุบัติเหตุภายในโรงงานส่วนใหญ่เกิดจากความผิดพลาดด้านการทำงานของบุคคล 88 % การใช้อุปกรณ์เครื่องไม้เครื่องมือที่ชำรุดเสียหาย 10 % และเหตุสุดวิสัย 2 % อันเป็นที่มาของกฏ 88-10-2 จะเห็นได้ชัดว่าเกือบ 98 % สามารถควบคุมได้หากมีการจัดการที่มีประสิทธิภาพ อุบัติภัยที่เกิดขึ้นจากสารเคมี การเข้าไปสัมผัสหรือทำงานร่วมกับสารเคมี การจัดทำป้ายคำเตือนและกำหนดสัญลักษณ์แสดงอันตราย (Safety Signs)

ระบบสัญลักษณ์แสดงอันตรายที่รู้จักและนิยมใช้มีหลายระบบ เช่น ระบบ UN ระบบ NFPA (The National Fire Protection Association) ของสหรัฐอเมริกา ระบบ EEC และระบบ GHS เป็นต้น ซึ่งสัญลักษณ์ของทั้ง 4 ระบบนั้น มีดังนี้ 1. ระบบ UN - United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods จำแนกสารที่เป็นอันตรายและเป็นเหตุให้ถึงแก่ความตายได้ หรือก่อให้เกิดความพินาศ เสียหาย ออกเป็น 9 ประเภท (UN-Class) ตามลักษณะที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสี่ยงในการเกิดอันตราย ดังนี้        

ประเภท 1 - ระเบิดได้ (Explosives) สารระเบิดได้ หมายถึง ของแข็งหรือของเหลว หรือสารผสมที่สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีด้วยตัวมันเอง ทำให้เกิดก๊าซที่มีความดัน และความร้อนอย่างรวดเร็ว

ประเภทที่ 2 ก๊าซ (Gases) ก๊าซ หมายถึง สารที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส มีความดันไอมากกว่า 300 กิโลปาสคาล หรือมีสภาพเป็นก๊าซ อย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 20 องศา เซลเซียส และมีความดัน 101.3 กิโลปาสคาล ได้แก่ ก๊าซอัด ก๊าซพิษ ก๊าซใน สภาพของเหลว ก๊าซในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่ำ และรวมถึงก๊าซที่ละลายใน สารละลายภายใต้ความดัน 2.1 ก๊าซไวไฟ (Flammable Gases) 2.2 ก๊าซไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (Non-flammable Non-toxic Gases) 2.3 ก๊าซพิษ (Poison Gases)

ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids) ของเหลวไวไฟ หมายถึง ของเหลวหรือของเหลวผสมที่มีจุดวาบไฟ (Flash Point) ไม่เกิน 60.5 องศาเซลเซียส จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยปิด (Closed-cup Test) หรือไม่เกิน 65.6 องศาเซลเซียส จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยเปิด (Opened-cup Test) ไอของเหลวไวไฟพร้อมลุกติดไฟเมื่อมีแหล่งประกายไฟ

ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ สารที่ลุกไหม้ได้เองและสารที่สัมผัสกับน้ำแล้วให้ก๊าซไวไฟ 4.1 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) 4.2 สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้ได้เอง (Substances Liable to Spontaneous Combustion) 4.3 สารที่สัมผัสกับน้ำแล้วทำให้เกิดก๊าซไวไฟ (Substances which in Contact with Water Emit Flammable Gases)

ประเภทที่ 5 สารออกซิไดซ์และสารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ 5 ประเภทที่ 5 สารออกซิไดซ์และสารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ 5.1 สารออกซิไดส์ (Oxidizing Substances) 5.2 สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ (Organic Peroxides) ประเภทที่ 6 สารพิษและสารติดเชื้อ 6.1 สารพิษ (Toxic Substances) 6.2 สารติดเชื้อ (Infectious Substances)

ประเภทที่ 7 วัสดุกัมมันตรังสี วัสดุกัมมันตรังสี (Radioactive Materials) หมายถึง วัสดุที่สามารถแผ่รังสีที่มองไม่เห็นอย่างต่อเนื่องมากกว่า 0.002 ไมโครคูรีต่อกรัม ประเภทที่ 8 สารกัดกร่อน สารกัดกร่อน (Corrosive Substances) หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวซึ่งโดย ปฏิกิริยาเคมีมีฤทธิ์กัดกร่อนทำความเสียหาย ต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอย่างรุนแรงหรือ ทำลายสินค้า/ยานพาหนะที่ทำการขนส่ง

ประเภทที่ 9 วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous Dangerous Substances and Articles) หมายถึง สารหรือสิ่งของที่ในขณะขนส่งเป็นสารอันตรายซึ่งไม่จัดอยู่ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 8 ตัวอย่าง เช่น ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต เป็นต้น และให้รวมถึงสารที่ต้อง ควบคุมให้มีอุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 100 องศาเซลเซียส ในสภาพของเหลว หรือมีอุณหภูมิ ไม่ต่ำกว่า 240 องศาเซลเซียสในสภาพของแข็งในระหว่างการขนส่ง

Explosives with a mass explosion hazard รายการ UN Class Class คำอธิบาย (อังกฤษ) คำอธิบาย (ไทย)   1   Explosives   วัตถุระเบิด   1.1   Explosives with a mass explosion hazard   สารและสิ่งของที่มีอันตรายประเภทระเบิดทั้งมวล   1.1A    Primary explosive substance       1.1B    Article containing a primary explosive substance and not containing two or more effective protective features. Some articles, such as detonators for blasting, detonator assemblies for blasting and primers, cap-type, are included, even though they do not contain primary explosives   1.1C    Propellant explosive substance or other deflagrating explosive substance or article containing such explosive substance   1.2   Explosives with a projection hazard   สารและสิ่งของที่มีอันตรายที่เกิดจากการยิงแต่ไม่เกิดการระเบิดทั้งมวล

DOT Labels

UN Markings Guide

Packing Group X - High Hazard Level - Packing Groups I, II and III Y - Medium Hazard Level - Packing Groups II and III Z - Low Hazard Level - Packing Groups III only

International Air Transport Association (IATA). Shipping Biologicals International Air Transport Association (IATA).

2. ระบบ NFPA - The National Fire Protection Association ของสหรัฐอเมริกา กำหนด สัญลักษณ์แสดงอันตรายเป็นรูปเพชร (Diamond-shape) เพื่อใช้ในการป้องกันและตอบโต้เหตุเพลิงไหม้ สัญลักษณ์ดังกล่าวมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่วางตั้งตามแนวเส้นทแยงมุม ภายในแบ่งออกเป็นสี่เหลี่ยมย่อย ขนาดเท่ากัน 4 รูป ใช้พื้นที่กำกับ 4 สี ได้แก่  สีแดง แสดงอันตรายจากไฟ (Flammability)  สีน้ำเงิน แสดงอันตรายต่อสุขภาพ (Health)  สีเหลือง แสดงความไวต่อปฏิกิริยาของสาร (Reactivity)  สีขาวแสดงคุณสมบัติพิเศษของสาร และใช้ตัวเลข 0 ถึง 4 แสดงถึงระดับอันตราย

NFPA Rating Explanation Guide

ที่มาของภาพ: สุเมธา วิเชียรเพชร

 3. ระบบ EEC (The European Economic Council)ตามข้อกำหนดของประชาคมยุโรป ที่ 67/548/EEC สัญลักษณ์แสดงอันตรายจะแบ่งออก ตามประเภทของอันตราย โดยใช้รูปภาพสีดำเป็นสัญลักษณ์แสดงอันตรายบนพื้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีส้ม และมีอักษรย่อ กำกับที่มุมขวา ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้ปรากฏอยู่ที่ฉลากของสารเคมีที่ใช้ในสหภาพยุโรป สัญลักษณ์ดังกล่าวแสดง

4. ระบบ GHS - The Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals เป็นระบบการจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมีและการติดฉลากที่องค์การสหประชาชาติได้กำหนดขึ้น เพื่อให้เป็นระบบสากลในการจําแนกหรือการจัดกลุ่มความเป็นอันตรายและการสื่อสาร ความเป็นอันตรายของ สารเคมีในรูปแบบของการแสดงฉลากและ เอกสารข้อมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (Safety Data Sheet, SDS) ที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก

GHS Pictograms and Hazard Classes Oxidizers Flammables Self Reactives Pyrophorics Self-Heating Emits Flammable Gas Organic Peroxides Explosives Acute toxicity (severe) Corrosives Gases Under Pressure Carcinogen Respiratory Sensitizer Reproductive Toxicity Target Organ Toxicity Mutagenicity Aspiration Toxicity Environmental Toxicity Irritant Dermal Sensitizer Acute toxicity (harmful) Narcotic Effects Respiratory Tract Irritation

Transport "Pictograms" Flammable Liquid Flammable Gas Flammable Aerosol Flammable solid Self-Reactive Substances Pyrophorics (Spontaneously Combustible) Self-Heating Substances Substances, which in contact with water, emit flammable gases (Dangerous When Wet) Oxidizing Gases Oxidizing Liquids Oxidizing Solids Explosive Divisions 1.1, 1.2, 1.3

Acute Toxicity (Poison): Oral, Dermal, Inhalation Explosive Division 1.4 Explosive Division 1.5 Explosive Division 1.6 Compressed Gases Acute Toxicity (Poison): Oral, Dermal, Inhalation Corrosive   Marine Pollutant Organic Peroxides

ACUTE ORAL TOXICITY - Annex 1   Category 1 Category 2 Category 3 Category 4 Category 5 LD50 £ 5 mg/kg > 5 < 50 mg/kg ³ 50 < 300 mg/kg ³ 300 < 2000 mg/kg ³ 2000 < 5000 mg/kg Pictogram No symbol Signal word Danger Warning Hazard statement Fatal if swallowed Toxic if swallowed Harmful if swallowed May be harmful if swallowed

ADR: Orange-coloured plate European Agreement Concerning the International Carriage of Dangerous Goods by Road ( ฝรั่งเศส: Accord europe’en relatif au transport international des marchan-dises Dangereuses par Route; ADR ) เป็นข้อตกลงที่บังคับใช้อยู่ในกลุ่มประเทศยุโรป เริ่มนำมาบังคับใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1968 โดยความมุ่งหมายเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการขนส่งสินค้าอันตรายทางถนนระหว่างประเทศ และจัดทำข้อตกลงต่างๆ ให้เป็นระเบียบเดียวกัน

สัญลักษณ์ป้ายสีส้ม จะพบเป็นป้ายรูปสี่เหลี่ยม ใช้ตัวอักษรสีดำบนพื้นสีส้ม ภายในชุดตัวเลขด้านบนคือ Hazard Identification Number ส่วนชุดตัวเลขด้านล่างคือ UN Number

Hazard Indentification Number ได้กำหนดความหมายของตัวเลขแต่ละตัวเอาไว้ดังนี้ 2 = มีแก๊สปล่อยออกมาได้ เนื่องจากมีแรงดันหรือปฏิกิริยาทางเคมี Emission of gas due to pressure or to chemical reaction 3 = ของเหลว (หรือไอ) และแก๊สนี้ไวไฟ หรือของเหลวนี้ทำให้เกิดความร้อนได้เอง Flammability of liquids (vapours) and gases or self-heating liquid 4 = ของแข็งนี้ไวไฟ หรือของแข็งนี้ทำให้เกิดความร้อนได้เอง Flammability of solids or self-heating solid 5 = สารออกซิไดส์ (จะทำให้ไฟโหมรุนแรงขึ้น) Oxidizing (fire-intensifying) effect 6 = สารนี้มีความเป็นพิษหรือก่อความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ Toxicity or risk of infection

7 = สารกัมมันตรังสี Radioactivity 8 = สารกัดกร่อน Corrosivity 9 = สารนี้ก่อความเสี่ยงในการเกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรงได้เอง (เช่น ระเบิด สลายตัว ก่อปฏิกิริยาโพลีเมอร์ หลังจากที่ปล่อยความร้อน เปลวไฟ หรือแก๊สพิษออกมา) Risk of spontaneous violent reaction (e.g. explosion, disintegration and polymerization reaction following the release of considerable heat or flammable and/or toxic gases)

หากอันตรายนั้นๆ มีความรุนแรงอย่างมาก จะทำการระบุเลขซ้ำกันสองครั้ง (ทำให้บางคนอาจเรียกรหัสชนิดนี้ว่า รหัสเลขเบิ้ล) เช่น 22 , 33, 44 แต่หากใช้ตัวเลขระบุอันตรายตัวเดียว ให้ใส่ 0 ลงไปเป็นหลักที่สอง เช่น 20, 30, 40 รหัสที่มีตัวอักษร X นำหน้า หมายถึงสารนี้ทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำ เช่น X323, X338, X423, X80 การจะใช้นำดับไฟหรือเก็บล้าง ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อน ชุดรหัส 2 – 3 หลักที่มีตัวเลขทั้งกลุ่มเดียวและหลายกลุ่มอยู่ด้วยกัน เช่น 22, 33, 323, 362, 446, 842 แต่ละชุดมีความหมายเฉพาะของตัวเอง ดังนี้

23 : flammable gas 239 : flammable gas, which can spontaneously lead to violent reaction 25 : oxidizing (fire-intensifying) gas 26 : toxic gas 263 : toxic gas, flammable 40 : flammable solid, or self-reactive substance, or self-heating substance 423 : solid which reacts with water, emitting flammable gases, or flammable solid which reacts with water, emitting flammable gases or self-heating solid which reacts with water, emitting flammable gases X423 : solid which reacts dangerously with water, emitting flammable gases, or flammable solid which reacts dangerously with water, emitting flammable gases, or self-heating solid which reacts dangerously with water, emitting flammable gases

UN Number จะเป็นตัวเลข 4 หลัก ตัวเลขชุดนี้กำหนดโดยสหประชาชาติ (United Nations) ปัจจุบันกำหนดไว้ตั้งแต่ 0001 ถึงประมาณ 3500 โดยตัวเลขชุดหนึ่งจะหมายถึงสารเคมีหรือกลุ่มของสารเคมีที่มีคุณสมบัติคล้ายกันกลุ่มหนึ่ง การดูเลขรหัส UN Number สามารถดูได้จากหนังสือ Recommendations on the transport of dangerous goods ที่ออกโดยสหประชาชาติ หรือในหนังสือ ADR ฉบับเต็ม หรือฐานข้อมูลอื่นๆ ที่มีการระบุรหัสเหล่านี้ไว้ก็ได้

ป้ายระบุอันตรายของน้ำมันเชื้อเพลิง Hazard Identification Number = 33 หมายถึง เป็นของเหลวไวไฟ UN Number = 1203 หมายถึง น้ำมันเชื้อเพลิง ป้ายระบุอันตรายของน้ำมันเชื้อเพลิง

Note the extra requirement for vehicles carrying class 1 (explosives) and class 7 (radio-active substances) to display placards (hazard diamonds) on both sides and the rear of the vehicle

Plus EHS mark where appropriate on both sides and rear