สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฝ่ายพลังงาน Energy Dept..
Advertisements

Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi. การระบุมูลค่าความเสี่ยง กรณีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ความเสี่ยงที่ Pr (r
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
1. เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียนและครูรับผิดชอบ จัดทำแบบทุกโรงเรียนความรู้ความเข้าใจ ด้านการวางแผน การจัดทำแผนพัฒนา การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี และการ บริหารงบประมาณ.
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
การบริหารโครงการโดยวิธีการ เชิงปริมาณ ศึกษาเทคนิคและวิธีการเลือก โครงการ บทบาทของผู้จัดการโครงการ การวางแผนโครงการ การจัดลำดับงาน การจัดสรรเวลาและทรัพยากรต่างๆ.
การลงใบความเสี่ยง (IR) ใน Hosxp โดยทีมความเสี่ยง โรงพยาบาลควนเนียง.
KM (Knowledge Management
KS Management Profile.
บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
การจัดการองค์ความรู้
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
พลังงาน (Energy).
การบริหารจัดการในชั้นเรียน (Classroom Management)
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 ภาคกลาง นครปฐม
กลุ่มงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำนักเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 3 ความสำคัญและ ผลกระทบจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management Program.
แผนกลยุทธ์ กรมชลประทาน
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน/กลุ่มงานสู่ระดับบุคคล.
ความสามัคคี คือ ..พลัง.....
Database ฐานข้อมูล.
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
การจัดการระบบฐานข้อมูล
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงานของประเทศ
รายงานการปฏิบัติงาน งานบริหารและธุรการ ฤ
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
บทที่ 6. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
Time management.
แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนา และงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การถ่ายทอดพลังงานของระบบนิเวศ
เข็มมุ่งกรมอนามัย ประจำปี 2559
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความสามัคคี คือ ..พลัง.....
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
By Personal Information Management
ความหมายของการจัดโครงสร้างองค์การ
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
ผู้จัดทำวิจัย อิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การบริหารจัดการในชั้นเรียน (Classroom Management)
บทที่ 8 ตัวแบบมาร์คอฟ.
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management.
การหาอินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์
บทที่ 3 การเตรียมดำเนินโครงการ
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
บทที่ 8. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
World window.
ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตของประเทศไทย Input-Output Table of Thailand
ประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวอย่างการนำ AI ไปใช้ในระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ

การจัดการพลังงานในอาคารควบคุมภาครัฐ 8 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานด้านการจัด การพลังงาน ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานการณ์การจัดการพลังงาน เบื้องต้น ขั้นตอนที่ 3 นโยบายอนุรักษ์พลังงาน

การจัดการพลังงานในอาคารควบคุมภาครัฐ 8 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน ขั้นตอนที่ 5 เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน และแผนอนุรักษ์พลังงาน ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติตามแผนฯ การตรวจสอบและการ วิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและ แผนการอนุรักษ์พลังงาน

การจัดการพลังงานในอาคารควบคุมภาครัฐ 8 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 7 การตรวจติดตาม และการประเมิน ระบบการจัดการพลังงาน ขั้นตอนที่ 8 การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไข ข้อบกพร่องของระบบการจัดการ พลังงาน

ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานด้านการจัดการพลังงาน จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานการจัดการพลังงาน ตามคำสั่ง กรมควบคุมโรคที่ 897/2555 สั่ง ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2555 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัด การพลังงาน ตามคำสั่ง กรมควบคุมโรคที่ 898/2555 สั่ง ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2555

ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานการณ์การ จัดการพลังงานเบื้องต้น ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานการณ์การ จัดการพลังงานเบื้องต้น

เป้าหมาย ปัจจุบัน การประเมินองค์กรโดย Energy Management Matrix   1. นโยบายการจัดการพลังงาน 2. การจัดการองค์กร 3. การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ 4. ระบบข้อมูลข่าวสาร 5. ประชาสัมพันธ์ 6. การลงทุน 4 มีนโยบายการจัดการ พลังงานจากฝ่ายบริหาร และถือเป็นส่วนหนึ่งของ นโยบายของบริษัท มีการจัดองค์กรและเป็น โครงสร้างส่วนหนึ่งของฝ่าย บริหาร กําหนดหน้าที่ความ รับผิดชอบไว้ชัดเจน มีการประสานงานระหว่าง ผู้รบผิดชอบด้านพลังงาน และทีมงานทุกระดับอย่างสม่ำเสมอ กําหนดเป้าหมายที่ ครอบคลุมติดตามผลหา ข้อผิดพลาดประเมินผลและ ควบคุมการใช้งบประมาณ ประชาสัมพันธ์คุณค่าของ การประหยัดพลังงานและ ผลการดำเนินงานของ การประหยัดพลังงาน จัดสรรงบประมาณโดย ละเอียดโดยพิจารณาถึง ความสำคัญของโครงการ 3 มีนโยบายและมีการสนับสนุนเป็นครั้งคราวจากฝ่ายบริหาร ผู้รับผิดชอบพลังงานรายงาน โดยตรงต่อคณะกรรมการจัด การพลังงาน ซึ่งประกอบด้วย หัวหน้าฝ่ายต่างๆ คณะกรรมการอนุรักษ์ พลังงานเป็นช่องทางหลัก ในการดําเนินงาน แจ้งผลการใช้พลังงานจาก มิเตอร์ย่อยให้แต่ละฝ่าย ทราบแต่ไม่มีการแจ้งถึงผล การประหยัด ให้พนักงานรับทราบ โครงการอนุรักษ์พลังงาน และให้มีการประชาสัมพันธ์ อย่างสม่ำเสมอ ใช้ระยะเวลาคุ้มทุนเป็น หลักในการพิจารณาการ ลงทุน 2 ไม่มีการกําหนดนโยบาย ที่ชัดเจนโดยผู้บริหารหรือ ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ผู้รับผิดชอบพลังงานรายงานต่อคณะกรรมการจัดเฉพาะกิจ แต่สายงานบังคับบัญชาไม่ชัดเจน คณะกรรมการเฉพาะกิจ เป็นผู้ดำเนินการ ทำรายงานติดตามประเมินผล โดยดูจากมิเตอร์ให้คณะกรรมการเฉพาะกิจเข้ามา เกี่ยวข้องกับการตั้งงบประมาณ จัดฝึกอบรมให้พนักงาน รับทราบเป็นครั้ง ลงทุนโดยดูมาตรการที่มี ระยะเวลาคุ้มทุนเร็ว 1 ไม่มีแนวทางปฏิบัติที่ทำไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร ผู้รับผิดชอบพลังงานมีขอบเขต หน้าที่ความรับผิดขอบจำกัด มีการติดต่ออย่างไม่เป็น ทางการระหว่างวิศวกรกับ ผู้ใช้พลังงาน (พนักงาน) มีการสรุปรายงานด้านค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานเพื่อใช้กัน ภายในฝ่ายวิศวกรรม แจ้งให้พนักงานทราบ อย่างไม่เป็นทางการเพื่อ ส่งเสริมการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ พิจารณาเฉพาะมาตรการที่ ลงทุนต่ำ ไม่มีนโยบายที่ชัดเจน ไม่มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ไม่มีการติดต่อกับผู้ใช้พลังงาน ไม่มีระบบรวบรวมข้อมูล และบัญชีการใช้พลังงาน ไม่มีการสนับสนุน การประหยัดพลังงาน ไม่มีการลงทุนใดๆ ในการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการ ใช้พลังงาน เป้าหมาย ปัจจุบัน

ขั้นตอนที่ 3 นโยบายอนุรักษ์พลังงาน

ขั้นตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน

ขั้นตอนที่ 5 เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและแผนอนุรักษ์พลังงาน ลำดับ มาตรการ วัตถุประสงค์ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ เริ่มต้น สิ้นสุด 1 ถอดหลอดไฟออก ในบริเวณที่มีแสงสว่างมากเกินความจำเป็น เพื่อลดปริมาณการใช้พลังงานด้านแสงสว่าง โดยการใช้แสงธรรมชาติเข้ามาช่วย มกราคม ธันวาคม คณะทำงาน 2 ลดชั่วโมงการทำงานของเครื่องปรับอากาศ เนื่องจากเครื่องปรับอากาศเป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้พลังงานสูง คณะท

ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติตามแผนฯ การตรวจสอบและการวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนการอนุรักษ์พลังงาน จากการประชุมของคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2555 ได้ร่วมกันกำหนดมาตรการการประหยัดพลังงาน ประจำปี พ.ศ.2555 และสำนักงานเลขานุการกรม ได้จัดทำหนังสือเวียนที่ สธ 0401.1/ว 347 ลงวันที่ 25 กรกฎาคม 2555 แจ้งให้หน่วยงานในสังกัดกรมทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน

ขั้นตอนที่ 7-8 การตรวจติดตามและการประเมินระบบการจัดการพลังงาน “อยู่ในระหว่างการดำเนินการ” การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของระบบการจัดการพลังงาน “อยู่ในระหว่างการดำเนินการ”

ร่างหลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจประเมิน คณะผู้ตรวจประเมิน ต้องมีความเป็นกลางและอิสระในการ ดำเนินงาน การเข้าตรวจประเมิน จะไม่แจ้งล่วงหน้าให้ทราบ การตรวจประเมินจะตรวจตามแบบฟอร์ม โดยยึดตามมาตรการ อนุรักษ์พลังงาน แต่ละหน่วยงาน ต้องผ่านเกณฑ์การตรวจประเมินอย่างน้อย ร้อยละ 80 (20 ข้อ)