รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศ
Advertisements

An Overview on. Thai Meteorological Department Vision Aspiring to the excellence in meteorology at the international level Mission To supply weather forecasts.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมอุตุนิยมวิทยา
Mathematical Model of Physical Systems. Mechanical, electrical, thermal, hydraulic, economic, biological, etc, systems, may be characterized by differential.
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน
WIND Work Improvement in Neighbourhood Development.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ ห้อง ๓๐๑ ชั้น ๓ ตึกแดง ทำเนียบรัฐบาล 1.
มาตรฐานงานที่ให้ความเชื่อมั่น รหัส 3000 งานให้ความเชื่อมั่น นอกเหนือจากการ ตรวจสอบ หรือการสอบทานข้อมูลทางการเงินในอดีต.
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารโครงเรื่องวิจัย
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
Thanapon Thiradathanapattaradecha
ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
ABI/INFORM Complete การใช้งานฐานข้อมูล โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
13 October 2007
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บทที่ 1 ภาพรวมของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
การวิเคราะห์อนุกรมเวลา และการพยากรณ์
การใช้สิทธิตามกฎหมายและการติดตามตรวจสอบมาตรการตาม EIA
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
การออกแบบแบบสอบถาม การสร้างเขตข้อมูลใหม่
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
พ.ญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
การเป็นศูนย์กลางข้อมูลแรงงานระดับจังหวัด Provincial Data
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
แนวทางการประกันภัยพืชผล การเกษตรที่เกิดจากภัยธรรมชาติ
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 28 กันยายน 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop) Part2
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 30 กันยายน 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ธันวาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 31 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 1 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ปฏิบัติการร่วมป้องกันและบรรเทาอุทกภัยภาคใต้ ประจำวันที่ 6 ตุลาคม 2557 ( เวลา 8.00 น. )
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4
บทที่ 3 การพยากรณ์ยอดขาย การบริหารงานอุตสาหกรรม.
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
Nature โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 31 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ส่วนของ ผู้ดูแลระบบ. ระบบการเรียนการสอนแบบ Interactive Model สำหรับ CSMA ด้วยเทคโนโลยี m-Learning.
เทคนิคการนำเสนองาน Research Methodology.
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 8 สิงหาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 30 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม 2558

ความก้าวหน้าด้านงานวิจัย ระบบปฏิบัติการเพื่อคาดการณ์ความสูงและทิศทางคลื่น (Simulating WAves Nearshore: SWAN) การประยุกต์ใช้สำหรับการวางแผนการระบายน้ำลงสู่ ทะเล: ปฏิบัติการณ์ร่วม ป้องกัน-บรรเทาอุทกภัยจังหวัด ยะลา-ปัตตานี

ระบบปฏิบัติการเพื่อคาดการณ์ความสูงและทิศทางคลื่น พัฒนาแบบจำลอง Simulating WAves Nearshore (SWAN) เพื่อคำนวณความสูงและทิศทางคลื่น บริเวณอ่าวไทย ให้สามารถคำนวณคลื่นบริเวณน้ำตื้นได้ ซึ่งเหมาะสมกับลักษณะภูมิประเทศของอ่าวไทยที่มีความลึกเฉลี่ย 45 เมตร เชื่อมโยงข้อมูลลม reanalysis จากแบบจำลอง Navy Global Environmental Model (NAVGEM) เพื่อคำนวณคลื่นในช่วงก่อนการคาดการณ์ และนำข้อมูลลมคาดการณ์ที่ความละเอียดสูงจากแบบจำลอง Weather Research and Forecasting model (WRF) มาใช้ในการคาดการณ์ความสูงและทิศทางคลื่นล่วงหน้า 7 วัน สนับสนุนการเตือนภัยพื้นที่ชายฝั่งและประยุกต์ใช้สำหรับการวางแผนการระบายน้ำลงสู่ทะเลได้

ระบบปฏิบัติการเพื่อคาดการณ์ความสูงและทิศทางคลื่น แบบจำลอง SWAN ข้อมูลนำเข้า ETOPO1 (Bathymetry data) Bathymetry data + Wind data Boundary condition Results Initial condition MATLAB แผนที่แสดงความเร็ว และทิศทางลม แผนที่แสดงความสูง และทิศทางคลื่น WRF (Forecast wind data) แผนภาพความสูงคลื่น แบบอนุกรมเวลา ผังแสดงทิศทาง และความสูงคลื่น NAVGEM (Reanalysis wind data)

สนับสนุนข้อมูลสำหรับการวางแผนการระบายน้ำ: ปฏิบัติการณ์ร่วม ป้องกัน-บรรเทาอุทกภัย จังหวัดยะลา-ปัตตานี

ปริมาณฝนบริเวณภาคใต้ตอนล่าง เดือนธันวาคม 2557 เกิดฝนตกหนักมากต่อเนื่องในหลายจังหวัดบริเวณภาคใต้ตอนล่าง ปริมาณฝนรายวันสุงสุดวัดได้ 358 มม. ที่ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส ในวันที่ 17 ธ.ค. 57 6

สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ เขื่อนบางลาง น้ำกักเก็บเต็มอ่าง 100% วันที่ 26 ธ.ค. 57 ปริมาณน้ำไหลลงอ่าง เพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ช่วงกลางเดือน ธ.ค. ไหลลงสูงสุด 103 ล้าน ลบ.ม. วันที่ 24 ธ.ค.57 เริ่มเปิด spillway เพื่อเร่งระบายน้ำตั้งแต่วันที่ 26 ธ.ค.57 เวลา 12.00 น. ระบายสูงสุด 48 ล้าน ลบ.ม. วันที่ 29 ธ.ค.57 7

คลื่นทะเล จากอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกำลังค่อนข้างแรง ส่งผลให้ความสูงของคลื่นบริเวณอ่าวไทยเพิ่มขึ้นในหลายช่วง โดยเฉพาะบริเวณอ่าวไทยตอนล่างที่ความสูงของคลื่นเพิ่มขึ้นค่อนข้างมากในช่วงวันที่ 17-18 , 22-23 และ 29-30 ธ.ค. 57

การปฏิบัติการณ์ร่วม สสนก. ได้เฝ้าติดตามและประเมินสถานการณ์ร่วมกันกับ กฟผ. ปภ. และ ชป. อย่างใกล้ชิด โดยได้วิเคราะห์แนวโน้มการระบายน้ำจากเขื่อนบางลาง ในช่วง เวลาที่เหมาะสมตั้งแต่ช่วงวันที่ 26 ธ.ค. 2557 เป็นต้นไป เนื่องจากคาดการณ์ แล้วว่า ปริมาณฝนจะลดลง คลื่นในอ่าวไทยจะลดกำลังลงและแม้จะกลับมา รุนแรงในช่วง 29-30 ธ.ค. 2557 แต่ก็เป็นช่วงเวลาระดับน้ำทะเลลดต่ำลง กฟผ.ได้หน่วงน้ำจากฝนตกหนัก ช่วงวันที่ 13-26 ธ.ค. 2557 ไว้ที่เขื่อนบาง ลางกว่า 517 ล้าน ลบ.ม. และระบายน้ำผ่านทางระบายน้ำล้นฉุกเฉิน วันละ 40 ล้าน ลบ.ม. ในวันที่ 26 ธันวาคม เวลา 12.00 น. กรมชลประทานเร่งระบายน้ำที่เขื่อนปัตตานีผ่านแม่น้ำปัตตานีและคลอง ชลประทานทั้ง 5 สาย รวมกว่า 700 ลบ.ม./วินาที ทำให้น้ำที่ระบายจากเขื่อน บางลาง ไหลผ่าน อ.เมืองยะลา ปริมาณ 650 ลบ.ม./วินาที ไม่ส่งผลให้ระดับน้ำ เพิ่มสูงขึ้นมากแต่อย่างใด ชุมชนปะกาฮะรังและชุมชนท่าด่าน ร่วมบริหารจัดการน้ำด้วยการเร่งระบายน้ำ ด้านท้ายน้ำและน้ำที่ระบายมาจากเขื่อนปัตตานี ให้ออกสู่ทะเลโดยเร็ว ทำให้ ชุมชนได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมเพียงเล็กน้อย

การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 3x3 กม 26 ธ.ค. 57 27 ธ.ค. 57 28 ธ.ค. 57 29 ธ.ค. 57 30 ธ.ค. 57 31 ธ.ค. 57

ผลการคาดการณ์ความสูงและทิศทางคลื่นทะเล บริเวณอ่าวไทยและอันดามัน ช่วงวันที่ 26-30 ธ.ค. 57 26 ธ.ค. 2557 27 ธ.ค. 2557 7.00 น. 19.00 น. 7.00 น. 19.00 น. 29 ธ.ค. 2557 30 ธ.ค. 2557 7.00 น. 19.00 น. 7.00 น. 19.00 น. 11 ที่มา: สสนก.

ผลการคาดการณ์ระดับน้ำทะเล สงขลา ปากน้ำปัตตานี 12 ที่มา: กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ

การระบายน้ำของเขื่อนบางลาง ไม่กระทบต่อ อ.เมืองยะลา และ อ.เมืองปัตตานี เขื่อนบางลางหน่วงน้ำกว่า 517 ล้าน ลบ.ม. ชุมชนปะกาฮะรังและชุมชนท่าด่าน ร่วมเร่งระบายน้ำด้านท้ายน้ำให้ออกสู่ทะเลโดยเร็ว เขื่อนปัตตานี ระบายน้ำมากกว่า 700 ลบ.ม./วินาที