การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
แนวทางการจัดทำรายงาน การควบคุมภายในประจำปี 2561
Governance, Risk and Compliance
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทบทวนระบบการควบคุมภายใน
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
บทบาทอำนาจหน้าที่ตรวจสอบภายใน
แนวทางการจัดทำรายงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
1.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
แนวทางการจัดวางระบบการ ควบคุมภายใน
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)

ทำไมส่วนราชการต้องมีการบริหารความเสี่ยง ? สอดคล้องกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารเชิงกลยุทธ์ คำรับรองการปฏิบัติราชการ และมาตรฐานการควบคุมภายใน เพิ่มโอกาสและช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายและพันธกิจที่ตั้งไว้ให้มากยิ่งขึ้น พัฒนาผลงานขององค์กรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ทุกคนในองค์กร มีความรับผิดชอบต่อการบริหารความเสี่ยงองค์กรที่จะกระทบต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่รับผิดชอบ โดยสอดคล้องกับคำสั่งและร่างข้อตกลงที่ได้กำหนดไว้ คณะกรรมการ มีหน้าที่กำกับดูแลให้มีนโยบายและการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผล ผู้บริหารสูงสุด มีความรับผิดชอบสูงสุด และรับบทบาทเป็นเจ้าของหรือเจ้าภาพที่จะจัดให้มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ

บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ(ต่อ) ผู้บริหารอื่นๆ มีหน้าที่สนับสนุนปรัชญาการบริหารความเสี่ยงองค์กร ส่งเสริมความร่วมมือต่อระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ และจัดการกับความเสี่ยงภายในขอบเขตความรับผิดชอบที่สอดคล้องกับเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนของความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน มีหน้าที่สนับสนุนกระบวนการบริหารความเสี่ยง ผู้สอบบัญชีภายนอก/หน่วยงาน/บุคคลอื่นภายนอกองค์กร ไม่มีความรับผิดชอบต่อประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง ผู้ตรวจสอบภายใน มีหน้าที่สอบทานและประเมินประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง

การบริหารความเสี่ยงองค์กร(Enterprise Risk Management) กระบวนการที่ปฏิบัติโดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากรทุกคนในองค์กร เพื่อช่วยในการกำหนดกลยุทธ์และการดำเนินงาน ซึ่งกระบวนการบริหารความเสี่ยงได้รับการออกแบบไว้ให้สามารถบ่งชี้เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้ได้รับความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลในการบรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์กรกำหนดไว้

แนวคิดพื้นฐาน :- การบริหารความเสี่ยง เป็นกระบวนการ เกิดจากบุคลากร กำหนดกลยุทธ์องค์กร นำไปใช้ทั่วทั้งองค์กร จัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ สร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล บรรลุวัตถุประสงค์

การบริหารความเสี่ยงองค์กร วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยบริหารโอกาสและควบคุมความเสี่ยง เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น เชิงลบ ความเสี่ยง เชิงบวก โอกาส

การบริหารความเสี่ยงองค์กร เครื่องมือนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ :- 1. ด้านกลยุทธ์ (Strategic) พันธกิจ (Mission) 2. ด้านการดำเนินงาน (Operation) ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล 3.ด้านการรายงาน (Reporting) น่าเชื่อถือ/ครบถ้วน/ทันเวลา 4. ด้านการปฏิบัติตามกฎ/ระเบียบ/ข้อบังคับ (Compliance) ถูกต้อง ภายใน/ภายนอก

ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงทางนโยบาย/กลยุทธ์ (Policy/Strategic Risk) ความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ/การเมือง (Economic/Political Risk) ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ยงทางการปฏิบัติงาน (Operational Risk) ความเสี่ยงทางกฎ/ระเบียบ/ข้อบังคับ (Regulatory Risk) ความเสี่ยงทางธรรมชาติ (Natural Risk) ฯลฯ

องค์ประกอบการบริหารความเสี่ยง สภาพแวด ล้อมในองค์กร (Internal Environment) การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) การบ่งชี้เหตุการณ์ (Event Identification) การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

องค์ประกอบการบริหารความเสี่ยง การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Response) กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) สารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication) การติดตามผล (Monitoring)

สภาพแวดล้อมภายในองค์กร (Internal Environment) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของการบริหารความเสี่ยง ที่ส่งผลต่อวิธีการกำหนดกลยุทธ์และเป้าหมายของการดำเนินงาน

การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) องค์กรต้องกำหนดวัตถุประสงค์ / เป้าหมายการดำเนินธุรกิจ ก่อนที่จะระบุเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ /เป้าหมายนั้นๆ  วัตถุประสงค์ต้องสอดรับกับการยอมรับในความเสี่ยง (Risk Appetite)

การบ่งชี้เหตุการณ์ (Event Identification) เป็นการระบุเหตุการณ์ความเสี่ยงหรือความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอก

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) การประเมินความเสี่ยงจะช่วยให้องค์กรทราบว่า เหตุการณ์ความเสี่ยง / ความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กรเป็นอย่างไร โดยการวิเคราะห์จากโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์และผลกระทบหากเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น

การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Response) การคัดเลือกทางเลือกที่เหมาะสมกับการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยจะต้องเลือกทางเลือกที่คาดว่าจะสามารถทำให้โอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้

การตอบสนองความเสี่ยง ( การจัดการความเสี่ยง ) การหลีกเลี่ยง (Avoidance) การยอมรับ (Acceptance) การลด (Reduction) การโอน/กระจาย (Sharing)

กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) นโยบาย มาตรการ และวิธีการต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดหรือนำมาใช้ที่ทำให้มั่นใจได้ว่า การจัดการความเสี่ยงที่จะทำขึ้นได้ถูกนำไปปฏิบัติอย่างทั่วถึงทั้งองค์กรอย่างเหมาะสม

สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) การระบุสารสนเทศที่จำเป็นทั้งจากแหล่งข้อมูลภายในและภายนอกองค์กร และมีระบบการสื่อสารไปถึงบุคลากรในองค์กร เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง

การติดตามผล (Monitoring) การบริหารความเสี่ยงขององค์กร จะมีความสมบูรณ์ครบถ้วนได้ จะต้องมีการทบทวน ติดตาม และปรับปรุงแก้ไขการบริหารความเสี่ยงตามความจำเป็นและเหมาะสม การติดตามผลสามารถจะบรรลุความสำเร็จ ได้โดยอาศัยกิจกรรมการจัดการระหว่างการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (ongoing management activities) และ/หรือ การประเมินผลอย่างอิสระ (separate evaluations)

กระบวนการบริหารความเสี่ยง การกำหนดวัตถุประสงค์ การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การเลือกวิธีการจัดการความเสี่ยง การติดตามและประเมินผล

แนวทางดำเนินการ  มีวิธีการที่หลากหลาย  มีวิธีการที่หลากหลาย  ขึ้นอยู่กับความพร้อม ขนาด และความซับซ้อนขององค์กร  จัดให้มีบรรยากาศและวัฒนธรรมที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง

ความเสี่ยง การควบคุม การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง การควบคุม การบริหารความเสี่ยง เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ สอดรับกับภารกิจของหน่วยงาน ระบุปัจจัยเสี่ยง สอบทาน สภาพแวดล้อมการควบคุม วิเคราะห์ ระดับความสำคัญ ไม่มีนัยสำคัญ ยอมรับความเสี่ยง ลด/ป้องกันความเสี่ยง สามารถปฏิบัติได้ หลีกเลี่ยงไม่ทำ -โอน/กระจายความเสี่ยง ทำไปแก้ไขตามสถานการณ์ มีนัยสำคัญ จัดกิจกรรมการควบคุม วิเคราะห์ ความคุ้มค่า ไม่ใช่ กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง ใช่ ระบบการควบคุมภายใน

COSO การบริหารความเสี่ยงองค์กร (Enterprise Risk Management) การควบคุมภายใน (Internal Control)

Operation Strategic Reporting Operation Compliance Reporting COSO : IC COSO : ERM

COSO : ERM COSO : IC Internal Environment Objective Setting Event Identification Risk Assessment Risk Response Control Activities Information & Communication Monitoring Control Environment Risk Assessment Control Activities Information & Communication Monitoring

การสนับสนุนจากผู้บริหาร การดำเนินการต่อเนื่อง การสื่อสารมีประสิทธิผล เป้าหมายที่ชัดเจน ความรับผิดชอบ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ การดำเนินการต่อเนื่อง การสื่อสารมีประสิทธิผล การวัดและติดตามผล

วิธีการวางแผนบริหารความเสี่ยง เปลี่ยน “ความเสี่ยง” เป็น “โอกาส”

ผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยง ระบุความเสี่ยง ในองค์กร ประเภทความเสี่ยง นอกในองค์กร สาเหตุของความเสี่ยง ผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยง โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง  การจัดการ หรือป้องกันความเสี่ยง การประเมินผลการดำเนินงาน

กลุ่มงานตรวจสอบและกำกับการคลัง สวัสดีค่ะ กลุ่มงานตรวจสอบและกำกับการคลัง สำนักงานคลังเขต 5