Chapter I Introduction to Law and Environment

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
Advertisements

Customer Relationship Management (CRM)
Establishing a Culture of Achievement: Multiliteracies in the ELT Classroom Session #2: 27 July 2012.
Introduction to Information Techonology Fundamental วรวิทย์ พูลสวัสดิ์ : Information Technology Fundamental.
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
Standard and Regulation in Environmental Law Nuthamon Kongcharoen – Law Facebook: Nuthamon Kongcharoen.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
E-Commerce Chapter 1 Introduction to e-commerce
ศพก. ระดับปานกลาง (B) 401 ศูนย์
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
บทที่ 4 เทคนิคการแตกโครงสร้างงาน Work Breakdown
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โรงเรียนของเรา.
บทที่ 5 การจัดการแฟ้มข้อมูล
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม
1.3 มิติสิ่งแวดล้อม การจัดแบ่งสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติหรือเป็นกลุ่ม ช่วยให้มุมมองในการจัดการครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น การจัดแบ่งมิติ คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพสิ่งที่อยู่รอบข้างเป็นสำคัญ.
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
Information System Development
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
กระบวนทัศน์การบริหารงานยุติธรรม
ทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ทรัพยากร
กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
Chapter I Introduction to Law and Environment
Techniques of Environmental Law
Gucci v. Guess. Gucci v. Guess Gucci lost the court case in France to GUESS in February 2015 Gucci won the court case in Australia, in September 2015.
Educational Information Technology
จารีตประเพณีและพหุนิยมทางกฎหมาย
1.3 มิติสิ่งแวดล้อม การจัดแบ่งสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติหรือเป็นกลุ่ม ช่วยให้มุมมองในการจัดการครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น การจัดแบ่งมิติ คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพสิ่งที่อยู่รอบข้างเป็นสำคัญ.
By Dr. Khunakorn Khongchana Lecturer of English Program
Standard and Regulation in Environmental Law
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
การสร้างความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียน: บทบาทผู้ปกครองและครู
Introduction to information System
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
ระบบรัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ)
การสร้างความตระหนักในเรื่องการรักษาความปลอดภัยของ
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
  ISY3103 ธุรกิจสารสนเทศ.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงชีวิต
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
Living Law การศึกษากฎหมายที่เป็นอยู่จริงในสังคม
Review - Techniques of Environmental Law
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
Public Health Nursing/Community Health Nursing
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
การควบคุม (Controlling)
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
1.3 มิติสิ่งแวดล้อม การจัดแบ่งสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติหรือเป็นกลุ่ม ช่วยให้มุมมองในการจัดการครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น การจัดแบ่งมิติ คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพสิ่งที่อยู่รอบข้างเป็นสำคัญ.
บทที่ 7 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter I Introduction to Law and Environment Outline & Reading ความหมายของสิ่งแวดล้อม ขอบเขตของวิชา ความสัมพันธ์ของการจัดการสิ่งแวดล้อม กับกฎหมาย Chapter I Introduction

ความหมายของสิ่งแวดล้อม 16/10/2019 ความหมายของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมใน 2 แนวทาง ได้แก่ สิ่งรอบตัวเรา - อากาศ น้ำ แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน รวมไปถึงสุขภาพ และการใช้ชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติ – สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ภูมิสภาพทางกายภาพ และสัตว์ พืช – ระบบนิเวศ กรณีกฎหมายสิ่งแวดล้อมอยู่ในขอบเขตของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม – “สิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี” อาจแบ่งได้เป็น 2 ด้าน คือ การจัดการทรัพยากร การจัดการมลพิษ Chapter I Introduction

สิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา  พลังงาน การผลิต  ทรัพยากรธรรมชาติ   ปัจจัย 4 ที่ดิน     มลพิษ   การจัดการสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์/ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม การเมือง Chapter I Introduction

Chapter I Introduction ข้อพิจารณา การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มศักยภาพแก่คนในการใช้ชีวิตอยู่ เราต้องแลกกับอะไร เพื่อให้ได้ความสะดวกสบายนี้ !!! Chapter I Introduction

Chapter I Introduction ข้อพิจารณา Dirty Electricity https://www.youtube.com/watch?v=6CVLa_tRslY https://www.youtube.com/watch?v=xdtIPb3Veuw http://www.greenwavefilters.com/dirty-electricity/ Chapter I Introduction

มิติต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา 16/10/2019 มิติต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา เมื่อเราตื่นเช้ามา เปิดหน้าต่าง แล้วสูดหายใจลึกๆ – เราพบอะไร? อากาศ น้ำ แสง เสียง กลิ่น มลพิษทางแสง Clean food > ทำไมต้องกินด้วย? ทุกวันนี้เรากินอย่างไร? เพื่อสุขภาพ? นอกจากกินแล้ว เราใช้ชีวิตอย่างไร? Dirty Electricity > คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า วิถีชีวิตในโลกสมัยใหม่ การใช้ชีวิตของเรา ต้องใช้พลังงานเท่าไร? พลังงานมาจากไหน? ระบบการผลิตในสังคมปัจจุบัน ยาอันตราย prescription drugs > ระบบการจัดการน้ำ และที่อยู่อาศัย ความปลอดภัยในการดำรงชีวิต Chapter I Introduction

มิติต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา 16/10/2019 มิติต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา ปัจจัยต่อการมีชีวิต from basic needs to live สู่ปัจจัยต่อการใช้ชีวิต to life style คนเราสามารถใช้เทคโนโลยี เอาชนะธรรมชาติได้ จริงหรือ? ไม่มีน้ำ ฝนแล้ง เราทำอย่างไร? ทำฝนเทียม! สกัดน้ำจืดจากน้ำทะเล! Chapter I Introduction

What have we got from “the Story of Stuff”? 16/10/2019 ระบบการผลิตในสังคม – สิ่งของต่างๆ มาจากไหน และไปไหนต่อ ในสังคม มีวงจรของสิ่งของต่างๆ อยู่ 5 ประการ 1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ 2 การผลิต 3 การจำหน่าย กระจายสินค้า 4 การบริโภค 5 การกำจัดของเสีย Chapter I Introduction

What have we got from “the Story of Stuff”? 16/10/2019 เราใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลื้อง เมื่อวัตถุดิบ/ทรัพยากรธรรมชาติในแหล่งหนึ่งหมดไป ก็ย้ายฐานการผลิตไปที่แห่งใหม่ ทั้งหมดนี้เรียกว่า Material Economy > linear system – in a finite world! ระบบการผลิตที่เป็นเส้นตรง (เชิงเดี่ยว) บนโลกที่มีทรัพยากรอยู่อย่างจำกัด ในภาพของระบบการผลิต มีผู้คน ระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมืองอยู่ในระบบทางสังคมที่ซับซ้อน ที่ระบบรัฐบาลต้องจัดการให้เป็นธรรม แต่ในความจริงรัฐบาลรับใช้ใคร? Chapter I Introduction

1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ 16/10/2019 1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การจัดสรรและกระจายการใช้ทรัพยากรของโลกอย่างไร ใครคือเจ้าของทรัพยากรธรรมชาติ และในระบบของสังคมมีการเข้าไปใช้ประโยชน์ในทรัพยากรนั้นๆอย่างไร เจ้าของพื้นที่ ดั้งเดิม เช่น ชนเผ่าพื้นเมือง ที่มีระบบการยังชีพแบบพอเพียง ไม่ถูกนับรวมอยู่ในระบบทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ที่เน้นการผลิต การบริโภค ดังนั้นเมื่อไม่มีการบริโภค ไม่มีการจับจ่ายใช้สอย ในระบบพาณิชยนิยม จึงไม่มีความหมายในระบบเศรษฐกิจ จึงถูกเอาเปรียบ และละเลย โดยระบบเศรษฐกิจ และการจัดการทรัพยากร Chapter I Introduction

1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ 16/10/2019 1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ เมื่อเจ้าของพื้นที่ดั้งเดิมถูกแย่งทรัพยากรไป จึงต้องเข้าเมืองไปทำงาน เป็นลูกจ้าง ที่ขาดอำนาจต่อรอง และถูกเอาเปรียบ ในระบบการผลิต ในขณะที่ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมลง ความหลากหลายทางชีวภาพหมดไป Renewable resource! ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น พีชและสัตว์ สามารถสร้างขึ้นได้ใหม่ แต่ในภาวะหนึ่งเท่านั้น Inbreeding ภาวะการผสมพันธุ์ของสัตว์ที่ต้องผสมข้ามสายเลือด ไม่เช่นนั้นสายพันธุ์จะอ่อนแอลง Extinction of wildlife ศักยภาพของการสืบพันธุ์ของพืชและสัตว์ จะอยู่ในระดับที่ไม่อาจดำรงสายพันธุ์ได้ตามธรรมชาติอีกต่อไป - กฎของดาร์วิน Chapter I Introduction

Chapter I Introduction 16/10/2019 2 การผลิต การผลิตที่ต้องลดต้นทุน และคุ้มทุน กดขี่ค่าแรง ลดสวัสดิการ ใช้แรงงานถูก ทรัพยากรราคาถูก กฎหมายอ่อน-ดึงดูดการ “พัฒนา” การลดต้นทุน อย่างหนึ่งคือการผลักภาระต้นทุนสู่ภายนอก externalized cost! เช่น ทิ้งน้ำเสียโดยไม่ต้องบำบัด ใครจ่ายต้นทุนที่แท้จริง? สังคม คนที่ไม่มีอำนาจต่อรอง ถ้าคนมีทางเลือก หรือมีอำนาจต่อรองก็ไม่ต้องตกอยู่ในภาวะเสียเปรียบแบบนี้ ระบบการผลิต ล้วนแต่ผลาญทรัพยากร ก่อมลพิษในกระบวนการผลิต และสร้างขยะ/ของเสีย การผลักภาระการจัดการมลพิษไปที่อื่น – ท้ายสุดก็วนกลับมาถึงตัวเอง มลพิษไร้พรมแดน Chapter I Introduction

3 การจำหน่าย กระจายสินค้า 16/10/2019 3 การจำหน่าย กระจายสินค้า การกระจายสินค้า การกระตุ้นการจับจ่าย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจการผลิดสินค้า ต้องกระตุ้นการบริโภค ทำอย่างไรให้คนซื้อมากขึ้น – ทำให้สินค้าราคาถูก การโฆษณา ทำให้คนซื้อของ การขายสินค้าราคาถูกได้ คือไม่ใช่การขายสินค้าตามต้นทุนการผลิดอย่างแท้จริง ผลักภาระให้แก่คนในระบบการผลิต โดยการกดขี่ค่าแรง เอาทรัพยากรธรรมชาติจากประเทศโลกที่สาม เอาเปรียบคนงาน เช่นกรณี Walmart Chapter I Introduction

Chapter I Introduction 16/10/2019 4 การบริโภค เศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลก นโยบายของรัฐในการกระตุ้นการบริโภค เพื่อส่งเสริมการผลิต การผลิตที่ตกต่ำ คนตกงาน ทำให้รัฐบาลอยู่ไม่ได้ ในการกระตุ้นการผลิต ใครได้ประโยชน์ที่แท้จริง? การกระตุ้นการบริโภคโดยตั้งใจ – วางแผน/นโยบาย การผลิตสินค้า ให้เสียในอัตราที่ผู้บริโภคยังไว้วางใจซื้อสินค้านั้นอยู่ Designed for the dump การตลาดที่ทำให้เกิดแฟชั่น ทำให้คนต้องซื้อของเพื่อความทันสมัย กระตุ้นความอยากบริโภค ทั้งที่ไม่จำเป็น Perceived obsolescence Chapter I Introduction

Chapter I Introduction 16/10/2019 5 การกำจัดของเสีย การผลิตและการบริโภค ล้วนแต่ก่อขยะ การกำจัดขยะโดยการฝังกลบ หรือเผา ล้วนแต่ก่อมลพิษ โดยเฉพาะขยะพิษ ขยะอีเลคโทรนิค วิธีการลดขยะ reduce reuse recycle การรีไซเคิลมีข้อจำกัด วัฒนธรรมการจัดการกับขยะ Chapter I Introduction

Chapter I Introduction 16/10/2019 วิธีคิดแบบใหม่ การผลิตแบบเชิงซ้อน ระบบนิเวศและคนไม่อาจแยกจากการผลิต การนำความคิดแบบวัฎจักรมาใช้ การทำแบบปัจเจก การผลักดันเชิงระบบ Chapter I Introduction

ประเภทของกลุ่มต่างๆที่จัดการสิ่งแวดล้อม 16/10/2019 Anthropo-centric Anthropology – มานุษยวิทยา มนุษย์คือศูนย์กลาง จากนิยามของการอนุรักษ์ – การใช้อย่างฉลาด the wise use เพื่อให้เรามีทรัพยากรไว้ใช้อย่างไม่รู้จบ และจะได้มีชีวิตอยู่อย่างมีความสุข Eco-centric Ecology – นิเวศวิทยา มองว่าคนเป็นตัวการของการทำลายโลก ดังนั้นหากหยุดกิจกรรมที่ผลาญโลกได้ โลกจะฟื้นตัว ระบบนิเวศจะสามารถจัดการให้คืนสู่สภาพที่สมดุล ดังนั้นคนต้องออกไป – คนอยู่กับป่าได้หรือไม่? Chapter I Introduction

ประเภทของกลุ่มต่างๆที่จัดการสิ่งแวดล้อม 16/10/2019 Techno-centric Technology พวกที่เชื่อว่าวิทยาการสามารถจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ เช่น ระบบการบำบัดน้ำเสีย ใช้กังหัน ตีน้ำเพิ่มออกซิเจน เติมสารอีเอ็มลงในคลอง เพื่อให้จุลลินทรีย์ บำบัดน้ำเสีย (โดยไม่ต้องปรับแก้ชุมชนริมคลอง) เพิ่มแหล่งพลังงาน (โดยไม่ต้องทบทวนการใช้พลังงานอย่างประหยัด) สร้างเขื่อน (โดยมีระบบไฮโดรลิค ยกเรือขนสินค้าขึ้น/ล่องลำน้ำได้ มีกระไดปลาโจน) https://www.youtube.com/watch?v=b8cCsUBYSkw https://www.youtube.com/watch?v=pAUqodcXyWQ ทั้งสามแนวคิดนี้ หากกระทำแบบสุดขั้ว ย่อมเกิดผลร้ายมากกว่าผลดี ต่อการจัดการสิ่งแวดล้อม Chapter I Introduction

Chapter I Introduction

สรุปปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อม กับกฎหมาย 16/10/2019 สรุปปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อม กับกฎหมาย กฎหมายเข้ามากำหนดกติกาว่าอย่างไรบ้าง? สังคมเป็นผู้กำหนดกติกา สังคมคิดอย่างไร – ออกกติกาเพื่อรองรับแนวคิดของตนเอง ปัญหาคือ แต่ละส่วนมีอำนาจ พลังมากพอที่จะกำหนดกติกานั้นหรือไม่อย่างไร หรือสังคมถูกทำให้คิด/เชื่ออย่างไร แล้วนักกฎหมายควรทำอย่างไร? Chapter I Introduction

Techniques of Environmental Law 1 Direct or "Command and Control" 2 Self-Regulation 3 Provision of Environmental Information & Education 4 Judicial Review & Citizen Suit 5 Environmental Protection through Property Rights Chapter I Introduction

1 Direct or "Command and Control" รัฐเป็นผู้ดูแล หรือ อำนวยการ ในการรักษา เช่น การรักษาความสะอาด การกำจัดของเสีย การออกระเบียบในการควบคุม และมีสภาพบังคับ เช่น พรบ.อุทยานแห่งชาติ ห้ามกระทำการที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิต พรบ.โรงงานอุตสาหกรรม ในการควบคุมมาตรฐานการปล่อยของเสียจากโรงงาน พรบ.อาหาร, พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค การมีฉลาก และควบคุมส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ พรบ.มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม Chapter I Introduction

Chapter I Introduction 2 Self-Regulation การกำหนดกฎเกณฑ์ ในสภาพแวดล้อมในชุมชน เช่น การรักษาแม่น้ำ ลำคลอง การกำหนดกติกาขึ้นมาใช้ในชุมชน – ตามแนวคิดของสัญญา (ข้อตกลงร่วมกัน – แนวคิด ถ้าไม่มีกฎหมายห้ามไว้ ประชาชนย่อมมีอำนาจกระทำการได้) Self-Regulation (การกำหนดกติกาที่ใช้ในชุมชน) & Self-Monitoring (การตรวจสอบดูแล) ปัญหาคือ เมื่อระเบียบของชุมชน ขัดต่อกฎหมายในระดับที่สูงขึ้นไป ทำอย่างไร? ตัวอย่างกติกาในการจัดการป่าชุมชน หลักการใช้บังคับกฎหมาย ระดับกฎหมายสูง-ต่ำกว่า สิทธิชุมชน พหุนิยมทางกฎหมาย legal pluralism ISO กับการกำหนดมาตรฐานการผลิต – เพื่ออะไร? Chapter I Introduction

การจัดการทรัพยกรของชุมชน Elinor Ostrom – Governing the Commons ระดับสากล ตัวบทบัญญัติ กฎหมายระหว่างประเทศ การบังคับใช้ เช่น การร้องเรียน การบอยคอต การค้า อย่างไม่เป็นทางการ - การเจรจาต่อรอง ระดับชาติ รัฐธรรมนูญ พรบ.ป่าไม้/อุทยาน การจับ ปรับ ย้ายออกจากพื้นที่ อย่างไม่เป็นทางการ – มติครม. การร่วมมือระหว่างรัฐกับชาวบ้าน ระดับชุมชน กติกาป่าชุมชน การไล่ออกจากพื้นที่ อย่างไม่เป็นทางการ – การซุบซิบนินทา การไม่คบหาสมาคม Chapter I Introduction

3 Provision of Environmental Information & Education การประกาศกฎเกณฑ์ทางสิ่งแวดล้อม การให้ความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ สุขภาวะ สิ่งแวดล้อม อาหาร/ของใช้ต่างๆ เช่นคลื่นจากโทรศัทพ์มือถือ สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค การอบรม รณรงค์และเผยแพร่การแยกขยะ การมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม ต้องการข้อมูลข่าวสาร และความรู้เกี่ยวกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และต่อตัวคน Chapter I Introduction

4 Judicial Review & Citizen Suit ระวังเรื่องนิติวิธี ของระบบกฎหมาย – การใช้กฎหมายในระบบกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร (ที่คำพิพากษาเป็นเพียงการตีความ และการบังคับใช้กฎหมายขององค์กรตุลาการ) กับระบบกฎหมายแบบ Common Law/ Case Law (ที่คำพิพากษาของศาลถือว่าเป็นที่มาหลักของกฎหมาย) การฟ้องคดี เพื่อสร้างบรรทัดฐาน ในการใช้กฎหมาย ข้อสังเกตสำคัญ – ในระบบกฎหมายไทย คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญมีผลผูกพันทุกองค์กร Chapter I Introduction

Chapter I Introduction การจัดประเภทของศาลเป็น 3 ศาล (ไม่รวมศาลทหาร) 1 ศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิของประชาชน (รวมถึงสิทธิในสิ่งแวดล้อม การฟ้องหน่วยงานของรัฐ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม) 2 ศาลปกครอง เพื่อเรียกร้องให้หน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่ในการดูแล รักษา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมให้ดำเนินการตามหน้าที่ซึ่งกฎหมายกำหนด 3 ศาลยุติธรรม ในการดำเนินคดีอาญา สำหรับผู้ละเมิดกฎหมายที่จัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และสำหรับการเรียกค่าเสียหายทางแพ่ง รวมถึงการงดเว้นกระทำการที่ละเมิดสิทธิในสิ่งแวดล้อม Chapter I Introduction

5 Environmental Protection through Property Rights การใช้สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในทรัพย์สิน มองได้ทั้งสองทาง เจ้าของกรรมสิทธิ์ มีอำนาจจะกระทำอย่างใดๆก็ได้ในทรัพย์สินของตนเอง (ตราบเท่าที่ไม่กระทบสิทธิของผู้อื่น) ในขณะเดียวกัน ก็มีข้อจำกัดกรรมสิทธิ์ – เรื่องเดือดร้อนรำคาญ Nuisance Zoning ผังเมือง Individual rights & collective rights Chapter I Introduction

Chapter I Introduction เอกสารอ่านประกอบ บทที่ 1 โพสให้ใน E-Document แล้ว Chapter I Introduction