สัปดาห์ที่ 1 Soc106 สังคมวิทยา โลกาภิวัตน์Sociology of Globalization

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Scene Design and Lighting Week1-3
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มเกษตรกร.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การพัฒนาครูและปฐมนิเทศครูผู้ช่วย (บรรจุใหม่)
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ศาสนาเชน Jainism.
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
กฎหมายกับเพศภาวะ Law & gender
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
(Code of Ethics of Teaching Profession)
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัปดาห์ที่ 1 Soc106 สังคมวิทยา โลกาภิวัตน์Sociology of Globalization เข้าสู่บทเรียน

สังคม Society วิทยา Technology โลกาภิวัตน์ Globalization หน้าต่อไป

สังคม (Society) สังคม เป็นความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของมนุษย์กับมนุษย์ หลายคน สังคม การอยู่ร่วมกัน มีวิถีชีวิตดำเนินชีวิตทิศทางเดียวกัน สังคม ทัศนคติ การยอมรับความคิดเห็นร่วมกัน สังคม ความสนใจพฤติกรรมทางสังคมทุกด้าน หน้าต่อไป

วิทยา (Technology) วิทยา ความรู้ที่หลากหลาย วิทยา ความรู้ที่หลากหลาย วิทยา วิทยาการที่พัฒนาต่อไปไม่สิ้นสุด วิทยา ความรู้ แนวคิดตั้งแต่อดีต ปัจจุบันถึง อนาคต หน้าต่อไป

โลกาภิวัตน์ โลกที่มนุษย์ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง โลกที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว กว้างขวาง โลกที่มากด้วยข่าวสารข้อมูล สามารถรับรู้รับทราบได้รวดเร็วแม้นอยู่มุมใดของโลกก็ตาม

สังคมของ... สัตว์ คน มนุษย์ พืช สิ่งมีชีวิตเคลื่อนไหวได้ มีความรู้สึกนึกคิด มีการตัดสินใจ มีสัญชาติญาณรับรู้ มีรูปร่าง กรรมพันธุ์  -มีจิตวิญญาณ -มีสมองมากกว่าสัตว์ -มีความรู้สึกรับผิดชอบชั่วดี แยกแยะได้  สูงกว่าจิตที่พัฒนาแล้ว -เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในสังคม หน้าต่อไป

สังคมระหว่างประเทศและประเทศในกลุ่มต่างๆ ในภูมิภาค ทวีป หน่วยงานที่เล็กที่สุด คือ ตัวเรา กับบุคคลอื่น มี 2 คน 3 คน เป็นต้น สังคมครอบครัว สังคมชุมชน สังคมระหว่างประเทศและประเทศในกลุ่มต่างๆ ในภูมิภาค ทวีป หน้าต่อไป

วิวัฒนาการ (Evolution) การพัฒนา (Development) การเปลี่ยนแปลงค่อยเป็นค่อยไปอาจดีขึ้น หรือ อาจเลวลงก็ได้ วิวัฒนาการ (Evolution) การพัฒนา (Development) การทำให้เจริญขึ้น เติบโตขึ้นมีความก้าว หน้า สร้างสรรค์ หน้าต่อไป

คำถาม (Question) ตอนที่ 1 1. สังคมคืออะไร? 2. สังคมหมายถึงอะไร? 3. ลักษณะอย่างไร? เรียกว่าสังคม 4. ประเภททางสังคมมีอะไรบ้าง? 5. อธิบายพอเข้าใจ -สังคมครอบครัว -สังคมชุมชน -สังคมระหว่างประเทศ,ในภูมิภาค,ในโลก 6. ท่านคิดว่าต้องการอะไร? จากสังคม 7. ท่านคิดว่าต้องการอะไร? จากสังคม 8. สังคมที่ไม่น่าอยู่ ไม่ต้องการร่วมกิจกรรมด้วยมีลักษณะอย่างไร 9. สังคมที่น่าอยู่ ต้องการร่วมกิจกรรมด้วยมีลักษณะอย่างไร 10. ปัจจุบันสังคมของท่านชอบหรือไม่ชอบ เพราะอะไร? หน้าต่อไป

คำถาม (Question) ตอนที่ 2 1. มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์ อย่างไร? 2. มนุษย์มีความแตกต่างจากคน อย่างไร? 3. ตามความหมายทางวิชาการที่ว่า “มนุษย์ เป็นสัตว์ประเสริฐ” “ทรัพยากรมนุษย์” ท่านเข้าใจว่าอย่างไร? (อธิบายสั้นๆ แต่เข้าใจได้โดยสมบูรณ์) หน้าต่อไป

สัปดาห์ที่ 2 Soc106 สังคมวิทยา โลกาภิวัตน์Sociology of Globalization เข้าสู่บทเรียน

ธรรมชาติ ธรรมชาติ คือสิ่งที่อุบัติ(เกิดขึ้น) เองโดยไม่มีคนหรือ มนุษย์ไปปรุงแต่ง ธรรมชาติ ธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มนุษย์ คน และสัตว์ปรารถนาที่ จะอยู่ด้วยกัน ครอบครอง แบ่งเป็นจัดสรร ปรุงแต่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตาม ต้องการ หน้าต่อไป

เผ่าพันธุ์ ชาติพันธุ์ กลุ่มคนที่มีมาจากดั่งเดิม ลักษณ์ทาง วิทยาศาสตร์ กายภาพ คล้ายกัน อาจแตก ต่างกันบ้าง แต่ก็จัดว่าเป็นหมวดหมู่เดียว กัน เผ่าพันธุ์ มีความสอดคล้องกับเผ่าพันธุ์ แต่มี วิวัฒนาการสืบต่อมา รวมกลุ่มชน ความ เชื่อความศรัทธา วิถีชีวิตคล้ายกัน รวมกัน อาณาเขต ดินแดนด้วย ชาติพันธุ์ หน้าต่อไป

เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สัญชาติ (Nationality) ชาติพันธุ์ (Rece,Ethnicity) หน้าต่อไป

ชาติพันธุ์ แนวคิดเรื่องลัทธิเหยียดเชื้อชาติทางวัฒนธรรมและระบบอุปถัมภ์ ชาติพันธุ์ แนวคิดเรื่องลัทธิเหยียดเชื้อชาติทางวัฒนธรรมและระบบอุปถัมภ์ เป็นเรื่องละเอียดก่อน มีความสำคัญต่อการหล่อหลอม สีผิว, สีของตา,เส้นผม โครงสร้างของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในโลก (ปรากฏตามกายภาพ) หน้าต่อไป

คศ.ที่ 19 มีการแบ่งมนุษย์อออกเป็น 3 เชื้อชาติหลักในโลก คศ.ที่ 19 มีการแบ่งมนุษย์อออกเป็น 3 เชื้อชาติหลักในโลก คอเคซอยค์ (Caueasoid) มองโกลอยด์ (Mongoloid) นิกรอยด์ (Nigroid) ผิวขาว + จมูกโด่ง ชาติตะวันตก ผิวเหลือง ชาติตะวันออก ผิวดำ+ ผมหยิก ชาติอัฟกัน คศ.19 ต่อ

คศ.ที่ 19 มีแนวคิดที่ว่า เชื้อชาติ บางเชื้อชาติดีกว่า เหนือกว่าเชื้อชาติอื่นๆบนพื้นฐานของสีผิว,เส้นผม,โครงสร้างใบหน้า เป็นฐานให้รากเหง้าของลัทธิเหยียดผิวได้ก่อกำเหนิดขึ้น เกิดการพัฒนาแนวคิดของ Representations of the other (1) การแบ่งกลุ่มระหว่าง เรื่องของตัวตน กับสิ่งอื่น (Self and others) เช่น ชาวโรมัน เรียกคน ที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในอาณาจักรโรมันว่าเป็นพวก ป่าเถื่อน (Barbarians) ชาวมุสลิมเรียกคนไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามว่าเป็นพวกอินฟิเดล (Infidela) คือพวกไม่จงรักภักดี คศ.19 ต่อ

คศ.ที่ 19 (2) ชาวตะวันตก มองด้วยความรู้สึกว่า ชาวตะวันออก เป็นกลุ่มคนแปลกไร้รูปแบบตายตัว โหดร้าย ทารุณ ขาดการเหนียวรั้งทางเพศ คศ.ที่ 16-19 ก่อตั้งจักรวรรดิ หรืออาณานิคม เริ่มมีการค้าทาส (Slave trade) เพื่อแลกเปลี่ยนสิ้นค้าประเภท น้ำตาล ยาสูบ กลับสู่ยุโรป คศ.19 ต่อ

คนไทยในปัจจุบันเรียก พวกอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) บ้านนอก (ชนบท) ไกลปืนเที่ยง (ชายแดน) ห่างความเจริญ ................... ................. ............... คศ.1865

คศ.1865 (พ.ศ. 2408) มหาอำนาจมุ่งความสนใจ กับการจัดตั้งอาณานิคม คศ.1865 (พ.ศ. 2408) มหาอำนาจมุ่งความสนใจ กับการจัดตั้งอาณานิคม ทฤษฎีว่าด้วยเชื้อชาติต่างๆ เป็นศูนย์กลางทางอุดมการณ์ เท่านั้นว่าเชื้อชาติ ผิวขาว มีภารกิจในการสร้างและเผยแผ่อารยธรรมของมนุษย์ (1) ในทวีปอเมริกา สีผิวมองว่าเชื้อชาติต่ำต้อยกว่า(degraded race) (2) การล่าอาณานิคม และ การค้าทาส เท่ากับการตอกย้ำการเหยียดหยามเชื้อชาติ (3) สถานภาพทางสังคมจัดให้ชาวญี่ปุ่นเป็นกลุ่มผิวขาวกิตติมศักด์ (honorary white) หน้าต่อไป

ในแอฟริกา (นายเนลสัน แมนเดลา : Nelson Mandela) ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี ผิวดำ คนแรกของประเทศ เป็นการปิดฉาก การเหยียดผิว ระหว่างมนุษย์อย่างเป็นทางการ ใน USA ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน________________________ เป็นคนผิวสีคนแรก ทำให้ลดช่องว่างระหว่างชาติพันธ์มนุษย์ ในไทย ทาสและการเลิกทาสในรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2441) หน้าต่อไป

ชนชั้น : ในทางสังคมเดียวกัน หรือ สังคมอื่นภายในสังคมจะมีการ ชนชั้น : ในทางสังคมเดียวกัน หรือ สังคมอื่นภายในสังคมจะมีการ จัดระบบกันเองโดยอัตโนมัติ 1. ทางกายภาพ. (พฤติกรรม การแสดงออก) 2. ทางความรู้สึกการยอมรับ 3. ทางกระบวนการที่สร้างขึ้น 4. ทางเศรษฐกิจ (ฐานะการเงิน) 5. ทางการศึกษา (ความรู้ ความสามารถ หน้าต่อไป

อำนาจ - บารมี อำนาจ คือ พลัง = การยอม = การกำหนด,การบังคับ,สั่งการ,เกรงกลัว = สิทธิเหนือผู้อื่น (คน สัตว์) ความได้เปรียบ = มีโอกาส มากกว่า บารมี คือ พลัง (นามธรรม) ยอมรับ,ความศรัทธา,การยกย่อง,สรรเสริญ การให้ เกรียติ,ความได้เปรียบทางปฏิบัติ หน้าต่อไป

กรอบของอำนาจและความรู้ = กลายเป็นสิ่งที่ได้รับการยอมรับอำนาจ ในสังคม (power relations) = มีอยู่ในทุกความสัมพันธ์ในสังคม หน้าต่อไป

ความหมาย ความสำคัญ และโครงสร้างสังคม กับจรรยาบรรณของความเป็นมนุษย์ เข้าสู่บทเรียน

ความหมาย = ได้กล่าวไว้ในเบื้องต้นพอเข้าใจพร้อมอธิบายประกอบ ความสำคัญหรือประโยชน์ - เข้าใจมนุษย์ในฐานะเป็นสมาชิกของสังคม - เข้าใจสังคม ทุกชนชั้น การอยู่ร่วมกันโดยไม่มีความขัดแย้ง เช่น วรรณะในประเทศอินเดีย(ศาสนาฮินดู)มีกี่วรรณะ อะไรบ้างล่ะค๊ะ - เข้าใจตนเอง ปกครองตนเอง โน้มเอียงเข้ากับผู้อื่นได้ หน้าต่อไป

เปรียบเสมือนตัวเราเป็นฟันเงือกตัวเล็กตัวหนึ่งของเครื่องจักร - เราเป็นองค์ประกอบของสังคม - ถ้าขาดเรา หรือเราสร้างปัญหาให้สังคม เสมือนเครื่องจักรไม่สมบูรณ์ อาจเกิดปัญหาได้ เกิอะไรบ้าง.............................................................................. ................................................................................................. หน้าต่อไป

พฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมซึ่งมีความสัมพันธ์กัน สถานภาพ บทบาท ลัทธิ หน้าที่ สั่งเฉพาะบุคคล กำหนดความแตกต่างของสมาชิก ในสังคม ติดตัวมาแต่กำเนิด หรือได้มาโดย ความสามารถ ตามสถานภาพความ เหมาะสม(มารยาท) หน้าต่อไป

โครงสร้างของสังคม สถาบัน สถานที่ / องค์กร สถานภาพและบทบาท บุคคล ระเบียบข้อบังคับ หน้าต่อไป

สถาบันทางสังคมหลัก 7 สถาบัน กศ. ครอบครัว ศาสนา สถาบันทางสังคมหลัก 7 สถาบัน สื่อสารมวลชน เศรษฐกิจ นันทนาการ การเมืองการปกครอง ( นิติ,บริหาร,ตุลาการ) หน้าต่อไป

จรรยาบรรณ คือ มารยาท แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม มีกรอบกติกา กฎเกณฑ์ ตามหลักของสังคม ที่กำหนดขึ้น จรรยา (กิริยา + มารยาท) ที่ดีงาม บรรณ (หลักการที่กำหนดไว้ เพื่อให้ปฏิบัติร่วมกัน) หน้าต่อไป

ยึดถือปฏิบัติตามแนวทางศาสนา (ศีล-ธรรม) ศีล - ข้อห้าม (คำสั่ง) จรรยาบรรณของไทย เริ่มพัฒนามีใช้อย่างเป็นทางการในสมัยรัชการที่ 5 เริ่มใช้กับข้าราชบริพารเป็นอันดับแรก ยึดถือปฏิบัติตามแนวทางศาสนา (ศีล-ธรรม) ศีล - ข้อห้าม (คำสั่ง) ธรรม - ข้อควรปฏิบัติ (คำสอน) เช่น สัปปุริสธรรม 7 ประการ ฯลฯ .......................................................................................... คำถาม

คำถาม (Question) 1. อธิบายลักษณะวิถีชีวิตธรรมชาติ พอเข้าใจ 1. อธิบายลักษณะวิถีชีวิตธรรมชาติ พอเข้าใจ 2. สังคมแบบธรรมชาต กับสังคมโลกาภิวัตน์สามารถอยู่ร่วมกันได้หรือไม่ ? เพราะเหตุใด 3. เผ่าพันธุ์ของท่าน จัดอยู่ในกลุ่มใดของการแบ่งประเภทมนุษย์ในโลก 4. ทัศนะของลัทธิเหยียดผิวสี หรือแบ่งชนชั้น เกิดจากสาเหตุใด? 5. นักศึกษายกตัวอย่างลักษณะของผู้มีอำนาจและบารมีให้เห็นภาพลักษณ์อย่างเข้าใจได้พอสังเขป 6. จงบอกลัทธิและหน้าที่ของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอน 7. มารยาทที่ดีต่อการเรียนควรปฏิบัติอย่างไร? 8. สถาบันสื่อสารมวลชนมีอิทธิพลต่อสังคมมากน้อยเพียงใด 9. ยกตัวอย่างหลักธรรมคำสอนพร้อมอธิบายมา 1 หลักธรรมเพื่อใช้ปฏิบัติในการดำรงชีวิตในสังคมไทย? 10. “เราเป็นส่วนหนึ่งของสังคม มิใช่สังคมเป็นส่วนหนึ่งของเรา” หมายความว่าอย่างไร? ต้องปฏิบัติต่อสังคมอย่างไร หน้าต่อไป

จบการบรรยาย