Introduction to Public Administration Research Method

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

System Requirement Collection (2)
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การเขียนโครงร่างวิจัย
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
Population and sampling
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การสุ่มตัวอย่าง สส ระเบียบวิจัยการสื่อสาร สื่อสารประยุกต์ ภาคพิเศษ
วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
Multistage Cluster Sampling
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
การขอโครงการวิจัย.
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
SMS News Distribute Service
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to Public Administration Research Method ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากร “ประชากร” หรือ Population ตามความหมายในวิชาประชากรศาสตร์ หมายถึง “คน” หรือกลุ่มของสิ่งมีชิวตใดๆที่จะนำมาศึกษา ซึ่งสมาชิกในกลุ่มแต่ ละหน่วยมีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติบางอย่างร่วมกันตามที่ผู้วิจัยกำหนดจะ ศึกษา ประชากร เช่น คนแต่ละคน สัตว์แต่ละตัว สิ่งของแต่ละชิ้น ฯลฯ เป็นสิ่งสำคัญ มากสำหรับการศึกษา เนื่องจากในบางครั้งเราไม่สามารถที่จะศึกษาจากจำนวน ประชากรทั้งหมดได้ ซึ่งจำเป็นที่ต้องเก็บข้อมูลจากองค์ประกอบของประชากร บางส่วนเพื่อประหยัดงบประมาณ เวลา และแรงงาน

ประชากร การกำหนดประชากรเป้าหมายนอกจากจะให้ความกระจ่างในเรื่องการเก็บข้อมูล แล้ว ยังทำให้ทราบถึงขอบเขตของการวิจัยว่ากว้างขวางหรือจำกัดเฉพาะกลุ่มใด กลุ่มหนึ่งหรือไม่ การศึกษาและการวิจัยจะมีเป้าหมายที่จะเก็บข้อมูลจากประชากรที่ เข้าข่ายเหล่านี้ทั้งหมดหรือเก็บเพียงบางส่วนโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง การกำหนดประชากรเป้าหมายยังมีผลต่อการเลือกสุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา ซึ่ง หมายถึง เป็นการกำหนดหรือสร้างกรอบของการสุ่มตัวอย่าง (Sampling Frame) อันหมายถึง รายชื่อของทุกๆหน่วยที่ประกอบกันเป็นประชากรที่สนใจ ศึกษา รายชื่อดังกล่าวนี้โดยทั่วๆไปหาได้จากทะเบียนของหน่วยงานต่างๆที่ เกี่ยวข้อง เช่น รายชื่อหัวหน้าครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครจะสามารถหา ได้จากเขตต่างๆของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น

ประชากร โดยทั่วไปแล้วประชากรที่ใช้ในการวิจัยสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. ประชากรที่นับได้ (Finite Population) = จำนวนประชากรที่มี จำกัด หรือสามารถกำหนดจำนวนหรือขอบเขตได้อย่างแน่ชัด เช่น จำนวน นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ จำนวนอาจารย์ในวิทยาเขต จำนวนแรงงาน ในโรงงาน จำนวนกลุ่มอาชีพในชุมชน เป็นต้น 2. ประชากรที่มีจำนวนอนันต์ (Infinite Population) = จำนวน ประชากรที่มีจำนวนมากจนไม่สามารถนับจำนวนได้ครบถ้วน เนื่องจากมีจำนวน มาไม่แน่นอน หรือไม่สามารถกำหนดจำนวนหรือขอบเขตได้อย่างแน่ชัด เช่น ปริมาณปลาในมหาสมุทร จำนวนเส้นผมบนศีรษะ จำนวนเมล็ดข้าวสารใน 1 ถัง เป็นต้น

ประชากร โดยทั่วไปแล้วการศึกษาวิจัยจะไม่นิยมศึกษาจากประชากรทั้งหมด เพราะทำให้ สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย แรงงาน และการควบคุมไม่ให้เกิดความคลาดเคลื่อน บางอย่างจะกระทำได้ยาก จึงทำให้มีการนิยมศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า ซึ่ง จะก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้ 1. ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการทำวิจัยได้ 2.สามารถทำการวิจัยได้เร็วขึ้นและได้ข้อมูลที่ทันสมัย 3. สามารถจัดเก็บข้อมูลได้อย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง 4. หากจัดเก็บข้อมูลถูกวิธีจะทำให้ได้รับความเชื่อถือสูง 5. สามารถ ลดขั้นตอนต่างๆ รวมทั้งลดแรงงานและอื่นๆได้

ความหมายของการสุ่มตัวอย่าง “การสุ่มตัวอย่าง” หรือ Sampling หมายถึง วิธีการ เลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร ที่มีคุณสมบัติต่างๆครบถ้วน สามารถเป็นตัวแทนในการ ศึกษษซึ่งสามารถอ้างอิงกลับไปยังประชากรที่ศึกษาทั้งหมด ได้ หน่วยที่จะศึกษา อันได้แก่ บุคคล สถาบันหรือสิ่งของมา ศึกษาเพียงบางส่วนจากบุคคล สถาบัน หรือสิ่งของที่มีอยู่ ทั้งหมด

ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง กลุ่มย่อยที่เรานำมาวิเคราะห์แทนกลุ่มประชากรทั้งหมดนี้เราเรียกว่า “กลุ่มตัวอย่าง” และ วิธีการที่จะให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างนั้นเราเรียกว่า “วิธีการสุ่มตัวอย่าง” (Sampling Method) โดยการสุ่มตัวอย่างนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. แบบที่ใช้ความน่าจะเป็น การเลือกตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มธรรมดา การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบ การเลือกตัวอย่างแบบชั้นหรือชั้นภูมิ การเลือกตัวอย่างเชิงกลุ่มบริเวณ การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน

ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง 2. แบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ การเลือกตัวอย่างแบบโควตา การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่หรือเชิงก้อนหิมะ 3.แบบผสม ซึ่งคือการสุ่มตัวอย่างแต่ละแบบก็มีวิธีการสุ่มตัวอย่างต่างๆกัน แบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็นผสมกับแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น แบบที่ใช้ความน่าจะเป็นผสมกับแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น แบบที่ใช้ความน่าจะเป็นผสมกับแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น

การสุ่มตัวอย่าง 1. การสุ่มตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น (Probability or Random Sampling) ซึ่งการเลือกตัวอย่างที่สามารถกำหนดและทราบได้ ว่า แต่ละหน่วยประชากรมีโอกาสเท่าใดที่จะได้รับเลือกมาเป็นตัวอย่าง โดยสามารถแบ่ง ออกได้เป็น 5 วิธีดังนี้ วิธีที่ 1 การสุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มธรรมดา (Simple Random Sampling) วิธีนี้เป็นวิธีการสุ่มตัวอย่างที่ใช้กันมากและจะเป็นรากฐานของ การสุ่มตัวอย่างอีกหลายแบบ เพราะวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบนี้มีลักษระทางสถิติเชิง อนุมานอย่างครบถ้วน และสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ มันเป็นวิธีการที่ง่ายและสะดวกแก่ การปฏิบัติดังนี้ 1) แต่ละหน่วยในประชากรมีโอกาสที่จะถูกเลือกได้เท่าๆกัน 2) ทุกหน่วยมีโอกาสผสมหรือรวมกลุ่มตามจำนวนที่กำหนดไว้โดยผู้วิจัยอย่างเท่า เทียมกัน เช่น โอกาสของคนที่ 1 เท่าเทียมกับคนที่ 2 และ 3

การสุ่มตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น วิธีที่ 2 การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Sampling) มี ลักษะณะคล้ายกับการสุ่มตัวอย่างแบบธรรมดา แต่ระบบนี้จำเป็นจะต้องมีรายการ หรือรายชื่อที่สมบูรณ์แบบ โดยเลือกตามรายการทุกๆหน่วยที่ (เช่น ทุกๆหน่วยที่ 10 หรือ 15 เป็นต้น) โดยเริ่มจากหน่วยใดหน่วยหนึ่งที่กำหนดตามหลักการสุ่ม หน่วยในที่นี้คือ หน่วยที่ จำนวนตัวอย่าง ÷ จำนวนประชากร ซึ่งเรียกว่า Sampling Function หรือ SF เช่น ถ้าเรามีประชากร 1800 คน แต่ ต้องการเลือกตัวอย่างเพียง 100 คน แปลว่า SF = 100 ÷ 1800 = 1 18 ซึ่งทำให้ เราจะต้องเลือกบุคคลทุกๆอันดับที่ 18 ถ้าเราเลือกคนที่ 8 เป็นคนแรก คนต่อไป จะต้องเป็นคนที่อยู่ในอันดับที่ 26 44 62 และ 80 ต่อไปเรื่อยๆจนกว่าจะครบ 100 คน หรือหมดจากรายชื่อ

การสุ่มตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น วิธีที่ 3 การสุ่มตัวย่างแบบชั้นหรือชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างที่มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1) แบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มๆ เป็นพวกๆ หรือเป็นประเภทๆ โดยให้ประชากรใน แต่ละชั้นภูมิมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมากที่สุด และประชากรระหว่างชั้นภูมิมีความ แตกต่างกันมากที่สุด เช่น แบ่งตามกลุ่มอาชีพ กลุ่มอายุ กลุ่มฐานะ กลุ่มศาสนา หรือกลุ่มต่างๆที่แบ่งออกมานั้นเรียกว่า ช่วงชั้น รหือ Strata 2) เลือกประชากรทุกชั้นมาเลือกตัวอย่าง 3) กำหนดตัวอย่างทั้งหมดและจำนวนตัวอย่างในแต่ละชั้น 4) ผู้วิจัยก็สุ่มตัวอย่างจากประชากรทุกชั้นจนได้จำนวนครบตามที่กำหนดไว้ในข้อ 3

การสุ่มตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น วิธีที่ 4 การสุ่มตัวอย่างเชิงกลุ่มบริเวณ (Cluster Sampling) หรือ พื้นที่ (Area Sampling) เพราะบางครั้งประชากรที่ผู้วิจัยต้องการ ศึกษานั้นได้แบ่งออกเป็นกลุ่มบริเวณ หรือเขตจำนวนมากมาย การแบ่ง เหล่านี้เรียกว่า กลุ่มบริเวณหรือ Cluster เมื่อสุ่มตัวอย่าง แทนที่เราจะสุ่ม จากหน่วยประชากรโดยตรงทันทีเหมือนกันวิธีการสุ่มแบบอื่น ภายหลังจาก การสุ่มตัวอย่างบริเวณแล้ว ขั้นต่อไปผู้วิจัยจะศึกษาหน่วยทุกหน่วยภายใน กลุ่มบริเวณที่สุ่มแล้ว เรียกว่า การสุ่มตัวอย่างเชิงกลุ่มบริเวณแบบชั้นเดียว หรือผู้วิจัยอาจจะสุ่มตัวอย่างต่อไปเรื่อยๆจนกว่าจะได้จำนวนเล็กตามที่ ต้องการ ซึ่งเรียกว่า การสุ่มตัวอย่างเชิงกลุ่มบริเวรณแบบหลายชั้น

การสุ่มตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น

การสุ่มตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น วิธีที่ 5 การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างของประชากรที่มีระดับแตกต่างกัน หลายระดับ เมื่อได้ระดับหนึ่งแล้วก็จะเลือกระดับต่ำกว่าลงมาหรือจากการสุ่ม จากกลุ่มใหญ่ไปหากลุ่มย่อยจนถึงหน่วยที่ต้องการจะศึกษา

การสุ่มตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น

การสุ่มตัวอย่าง 2. การสุ่มตัวอย่างแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น เป็นการเลือกตัวอย่างที่ไม่สามารถ กำหนดและประมาณโอกาสที่แต่ละหน่วยของประชากรจะได้รับเลือกเป็นตัวอย่างได้ และแต่ละหน่วยมีโอกาสในการได้รับเลือกไม่เท่าเทียมกัน และไม่สามารถใช้ทฤษฎีความ น่าจะเป็นมาประมาณค่าของประชากรได้ เพราะการสุ่มไม่มีระเบียบระบบ การสุ่มตัวอย่างแบบนี้ ผู้วิจัยไม่สามารถที่จะใช้สถิติเชิงอนุมาน หรือสรุปอะไรอย่างมั่นใจ เกี่ยวกับประชากรจากตัวอย่างที่ศึกษาได้ แต่การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะ เป็นนี้มีข้อได้เปรียบอย่างเห็นได้ชัดคือ มีความสะดวกสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อย และ ประหยัดเวลา ถ้าใช้กันอย่างมีความระมัดระวังและใช้โดยผู้สันทัดกรณีศึกษาในเรื่องที่จะ ศึกษาแล้ว การสุ่มตัวอย่างแบบนี้อาจจะได้เปรียบกว่าการสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความ น่าจะเป็นก็ได้

การสุ่มตัวอย่างแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น วิธีที่ 1 การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงหรือจุดมุ่งหมาย (Purposive Sampling) คือวิธีการเลือกตัวอย่างโดยใช้วิจารณญาณของผู้วิจัยหรือ ของคนใดคนหนึ่งที่รับผิดชอบการวิจัยว่าจะเลือกหน่วยใดบ้างให้มาอยู่ใน กลุ่มตัวอย่าง โดยพิจารณาจุดมุ่งหมายของการวิจัยเป็นสำคัญ การสุ่มตัวอย่างวิธีนี้ให้ความไว้วางใจแก่ผู้วิจัยหรือผู้สันทัดกรณีในเรื่องนั้นๆ เนื่องจากบุคคลผู้นี้เท่านั้นที่รู้ว่าจุดมุ่งหมายของการวิจัยอยู่ที่ไหน และจะเลือก หรือไม่ เลือกหน่วยไหน เพื่อให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายดังกล่าว เช่น เลือกผู้ มีอิทธิพลในสังคม เด็กเกเรในหมู่บ้าน ครอบครัวชั้นกลางในชุมชนเหล่านั้น เป็นต้น

การสุ่มตัวอย่างแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น วิธีที่ 2 การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบฉาบฉวยเท่าที่อยู่ใกล้มือของผู้วิจัยหรือเท่าที่จะพบ ได้ เช่น ผู้วิจัยอาจจะต้องการวิจัยคนขับแท็กซี่ ทำให้วิธีการคือ ผู้วิจัยสัมภาษณ์ คนขับแท็กซี่เท่าที่ผู้วิจัยพบ หรือศึกษาผู้ใช้บริการรถประจำทางโดยศึกษา บุคคลที่พบตามป้ายรถประจำทาง หรือถ้าอาจารย์คนใดคนหนึ่งต้องการ ศึกษษเกี่ยวกับนักศึกษา โดยถือนักศึกษาในห้องที่ตนเองสอนเป็นกลุ่ม ตัวอย่างของการวิจัยก็เรียกได้ว่าเป็นการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ

การสุ่มตัวอย่างแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น วิธีที่ 3 การสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) เป็น วิธีการเลือกตัวอย่างอีกแบบหนึ่งที่มิได้ตั้งอยู่บนหลักของความน่าจะเป็น แต่ จะมีประสิทธิภาพมากกว่าการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เนื่องจากเป็นวิธีการเลือกตัวอย่างซึ่งอย่างน้อยก็พยายามใช้หลักการของการ เป็นตัวแทน ที่จริงแล้วการสุ่มตัวอย่างแบบโควตานี้ใช้หลักการเดียวกันกับการ สุ่มตัวอย่างแบบชั้นที่ได้กล่าวมาแล้ว คือต้องกำหนดประเภทหรือกลุ่มของ ประชากรเสียก่อน เช่น กำหนดตามเพศ ศาสนา อาชีพ เป็นต้น แล้วจึงเลือก ตัวอย่างจากแต่ละประเภทหรือกลุ่มตามจำนวนที่ต้องการ

การสุ่มตัวอย่างแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น วิธีที่ 4 การสุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่หรือเชิงก้อนหิมะ (Snowball Sampling) เป็นวิธีแบบใหม่และกำลังได้รับความนิยมมากขึ้น วิธีการคือ ผู้วิจัยเลือกตัวอย่างมาจำนวนหนึ่งที่มีลักษณะตรงตามจุดมุ่งหมายของ การวิจัย เช่น นักเรียนที่มีมารยาทเรียบร้อย ข้อราชการที่เคยไปทำงานใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ เป็นต้น เมื่อเลือกกลุ่มตัวอย่างขั้นต้นนี้แล้ว ผู้วิจัยก็สัมภาษณ์แต่ละ คนและขอให้แต่ละคนแนะนำให้รายชื่อคนอื่นๆที่มีลักษณะดังกล่าวเป็นขั้นที่สอง ผู้วิจัยก็สัมภาษณ์กลุ่มที่สองต่อไปและเอารายชื่อคนอื่นๆจากกลุ่มที่สองอีกที่มี ลักษณะเดียวกันเป็นขั้นที่สาม ผู้วิจัยจะกระทำอย่างนี้เรื่อยๆ จนกว่าจะครบตาม จำนวนที่ต้องการ ที่เรียกว่า “ก้อนหิมะ” ก็เนื่องจากว่าใช้วิธีการเหมือนกับการกลิ้งของลูกหิมะ ซึ่งแต่ ละรอบนั้นทำให้ลูกหิมะมีขนาดโตขึ้นเรื่อยๆ

การกำหนดขนาดตัวอย่าง เมื่อกำหนดประชากรเรียบร้อยแล้ว ควรจะสุ่มตัวอย่างมาเป็นจำนวนเท่าไรจึงจะ เรียกว่าเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรได้ จำนวนของตัวอย่างที่เราสุ่มมาได้นี้ เรียกว่า “ขนาดตัวอย่าง” “ขนาดของตัวอย่าง” ไม่สามารถวางกฎแน่นอนตายตัวได้ว่าจะต้องมีจำนวนหรือ อัตราเท่าใด ที่ถูกต้องแล้วคือ ขนาดของตัวอย่างที่ดีและเหมาะสมนั้น ขึ้นอยู่กับว่า นักวิจัยต้องการ 1)ความแม่นยำของตัวอย่าง 2)สามารถยอมรับความ คลาดเคลื่อนมาตรฐานหรือความคลาดเคลื่อนตัวอย่างขนาดไหน

หลักเกณฑ์ในการเลือกตัวอย่าง 1. ทราบวัตถุประสงค์ของการสำรวจจากตัวอย่างที่แท้จริงว่า กำลังสำรวจเรื่อง อะไร และจะนำผลที่ได้จากการสำรวจไปทำอะไร 2. ทราบประชากรที่อยู่ในขอบข่ายของการสำรวจว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง 3. มีกรอบตัวอย่าง (Sampling Frame) ที่สมบูรณ์ คือ มีรายชื่อของ ทุกๆหน่วยที่ประกอบกันขึ้นเป็นประชากรที่ศึกษาและเป็นกรอบที่ทันสมัย

หลักเกณฑ์ในการเลือกตัวอย่าง 4. ทราบวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 5. ทราบขนาดของตัวอย่างและวิธีการเลือกตัวอย่างจากประชากรที่สนใจศึกษา ซึ่งการใช้วิธีการเลือกตัวอย่างที่ถูกต้องและขนาดตัวอย่างที่เหมาะสม จะทำให้ ค่าประมาณที่ได้จากตัวอย่างมีความน่าเชื่อถือได้มาก โดยทั่วๆไปขนาดของ ตัวอย่างที่ใช้กมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการกระจายของข้อมูลที่สนใจ ศึกษา และความถูกต้องของค่าประมาณที่ต้องการ นอกจากนี้ขนาดตัวอย่างยัง ขึ้นอยู่กับงบประมาณและเวลาที่ผู้สำรวจมีอยู่ด้วย แต่อย่างไรก็ตามถ้าขนาด ตัวอย่างยิ่งมากเท่าใดค่าประมาณจากตัวอย่างก็ยิ่งมีความถูกต้องและเชื่อถือได้ มากขึ้นเท่านั้น

ลักษณะของตัวอย่างที่ดี 1. ต้องเป็นตัวแทนที่ดี คือต้องมีลักษณะที่สำคัญของ ประชากรที่จะศึกษาและเลือกออกมาโดยไม่มีความลำเอียง 2. มีขนาดพอเหมาะที่จะทดลองความเชื่อมั่นทางสถิติได้ หรือ เพียงพอที่จะอ้างสรุปไปถึงกลุ่มประชาการได้