การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada
ความสำคัญของการประเมินผลโครงการ ช่วยให้การกำหนดวัตถุประสงค์หรือมาตรฐานของการดำเนินงานมีความชัดเจน ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเกิดประโยชน์เต็มที่หรือเป็นไปอย่างคุ้มค่า ช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ ช่วยในการควบคุมคุณภาพของงาน ช่วยในการตัดสินใจในการบริหารโครงการ yalada
ความหมายของการประเมินผลโครงการ การประเมินผลโครงการ หมายถึง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อหาข้อมูลที่เป็นจริงเกี่ยวกับโครงการโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ การวางแผน การดำเนินการ และผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นการกำหนดคุณค่าหรือข้อดีของโครงการดังกล่าวว่าดีหรือไม่ yalada
ประเภทของการประเมินผลโครงการ การแบ่งตามลำดับเวลาการบริหารโครงการ การประเมินผลก่อนเริ่มโครงการ การประเมินผลขณะดำเนินโครงการ การประเมินผลหลังจากโครงการสิ้นสุด การแบ่งตามลักษณะการตัดสินใจ การประเมินความก้าวหน้าของโครงการหรือการประเมินผล การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ yalada
การแบ่งตามสิ่งที่ถูกประเมิน หรือตามแบบ CIPP การประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ (Context) การประเมินปัจจัยนำเข้า (Input) การประเมินกระบวนการ (Process) การประเมินผลงานหรือผลผลิต (Product) การแบ่งตามวัฏจักรของการวางแผนโครงการ การประเมินก่อนการดำเนินงาน (Pre-evaluation) การประเมินขณะกำลังดำเนินงาน (On– going evaluation) การประเมินเมื่อโครงการสิ้นสุด (End–of–project evaluation) การประเมินหลังโครงการสิ้นสุด (Post–project evaluation) yalada
ประเภทของการประเมินผล ประเภทของการตัดสินใจ ประเภทของการประเมินผล ประเภทของการตัดสินใจ 1. การประเมินก่อน การประเมินสภาพแวดล้อม กำหนดวัตถุประสงค์ เริ่มโครงการ (Context) การประเมินปัจจัยนำเข้า เลือกแนวทางปฏิบัติ (Input) โครงการ 2. การประเมิน การประเมินกระบวนการ ปฏิบัติและปรับปรุง ขณะดำเนินโครงการ (Process) (ถ้าจำเป็น) โครงการ 3. การประเมิน การประเมินผลงาน ปรับปรุงปรับขยายโครงการ เมื่อโครงการสิ้นสุด (Product) และยกเลิกโครงการ 4. การประเมินหลังโครงการสิ้นสุด yalada
ลำดับเวลาการบริหารโครงการ ลักษณะการตัดสินใจ วัฎจักรของการวางแผน สิ่งที่ถูกประเมิน 1. การประเมินก่อนเริ่มโครงการ - ศึกษาความเป็นไปได้ - การประเมินร่างโครงการ 1. การประเมินก่อนการปฏิบัติตามแผน 1. การประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ 2. การประเมินขณะดำเนินโครงการ - ดูความก้าวหน้า/ผลสัมฤทธิ์ - ปัญหาอุปสรรค 1. การประเมินความก้าวหน้าของโครงการ 2. การประเมินขณะปฏิบัติตามแผน 2. การประเมินปัจจัยนำเข้า 3. การประเมินเมื่อโครงการสิ้นสุด 2. การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ 3. การประเมินหลังจากปฏิบัติงานเสร็จแล้ว 3. การประเมินกระบวนการ - ดูผลปฏิบัติงาน - ดูความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ดูประสิทธิภาพและความประหยัด ดูความเพียงพอของโครงการ 4. การประเมินหลังโครงการสิ้นสุด - ดูผลผลิต - ดูผลลัพธ์ - ดูผลกระทบ 4. การประเมินผลงานหรือผลผลิต yalada
ขั้นตอนในการประเมินผลโครงการ การกำหนดวัตถุประสงค์สำหรับการประเมินผล การเลือกวัตถุประสงค์ของโครงการที่ต้องการจะวัด การเลือกอุปกรณ์ เครื่องมือและกระบวนการ การเลือกตัวอย่าง การกำหนดการวัด และตารางเวลาการสังเกต การเลือกเทคนิควิเคราะห์ การหาข้อสรุปและเสนอแนะ yalada
การวางแผนการประเมินผล ขั้นตอนที่ 1 กำหนดผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ขั้นตอนที่ 2 จัดการประชุมเบื้องต้น ขั้นตอนที่ 3 ประเมินความสามารถที่จะรับการประเมิน ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ขั้นตอนที่ 5 กำหนดระเบียบวิธีวิจัย ขั้นตอนที่ 6 การนำเสนอโครงร่างผลการประเมินผลที่เป็นลายลักษณ์อักษร yalada
รูปแบบการประเมินผลโครงการ การประเมินแบบทดลอง กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม การประเมินแบบกึ่งทดลอง การประเมินเฉพาะกลุ่มทดลอง การประเมินโดยใช้กลุ่มเปรียบเทียบ การประเมินที่ไม่ใช่การทดลอง เป็นการประเมินเฉพาะกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง เป็นการประเมินเฉพาะกลุ่มทดลองทั้งก่อนและหลังการทดลอง เป็นการประเมินกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองเฉพาะหลังการทดลอง yalada
การเขียนรายงานการประเมินผลโครงการ ปกหน้าของรายงาน ชื่อโครงการ สถานที่ ชื่อผู้ประเมิน ชื่อบุคคล หรือคณะกรรมการที่รายงานเสนอถึง ช่วงระยะเวลาที่งานประเมินครอบคลุมถึง เวลาที่เสนอรายงานการประเมิน yalada
ตัวรายงาน ส่วนสรุปย่อ บทนำ รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ วิธีการประเมินโครงการ และขอบเขตการประเมิน ผลของการประเมิน การอภิปรายผล บทสรุปและข้อเสนอแนะ yalada
ขอขอบคุณที่สนใจฟัง... yalada