Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Entity-Relationship Model E-R Model
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
Database Management System
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
DATABASE RELATIONAL MODEL ER DIAGRAM.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
สัมมนาฟรี การเชื่อมโยงระหว่างมหาวิทยาลัย และภาคอุตสาหกรรม กับการเพิ่มศักยภาพทางความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม หมดเขตส่งใบสมัคร วันที่ 16 สิงหาคม )
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
Microsoft Access 2007 ทำความรู้จักและใช้งาน. รู้จักกับฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล (Data base) คือ ? Bit Byte Field/Word Record Table/File.
CHAPTER 11 Database Design. 2 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Agenda Data Organization Relational Database Entity,
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
Entity-Relationship Model
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ฐานข้อมูล.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
Entity – Relationship Model
บทที่ 2 นอร์มัลไลเซชัน normalization
การทำ Normalization 14/11/61.
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Java class ,ความสัมพันธ์ของ Class Diagram (UML)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Chapter 4 : ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
Chapter 6 : แบบจำลอง E-R (Entity-Relationship Model)
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
Multistage Cluster Sampling
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Database design E-R Diagram
Entity – Relationship Model
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การสร้างฟอร์มย่อย การสร้างฟอร์มย่อยและรายงานย่อย
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
Application of Software Package in Office
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
SMS News Distribute Service
ทำความรู้จักและใช้งาน
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
Introduction to Database System
สรุปขั้นตอนการสร้าง E-R Diagram
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
การวิเคราะห์ความต้องการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Database Design & Development
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
Class Diagram.
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น

ขั้นตอนการเขียน E-R Diagram 1. ศึกษารายละเอียดและลักษณะหน้าที่งานของระบบ 2. กำหนด Entity ที่ควรมีในระบบฐานข้อมูล 3. การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง Entity 4. การกำหนด Attribute ของ Entity ให้ครบ 5. การกำหนด Primary Key ของแต่ละ Entity

รูปแสดงโครงสร้างของตาราง( Relation ) Attribute นักศึกษา รหัสประจำตัว ชื่อ คณะ ที่อยู่ 54652235 มานิด สุขใจ วิทยาศาสตร์ อุตรดิตถ์ 54652236 สว่าง นาการ 54652237 ระฟ้า ดีพร้อม วิทยาการจัดการ Tuple หรือ Record ช่องใส่ข้อมูล (Cell)

รูปแบบที่ใช้แทนตาราง(Relation) สามารถเขียนแทนได้ดังนี้ นักศึกษา รหัสประจำตัว ชื่อ คณะ ที่อยู่ หรือ โครงสร้างตาราง(Relation Schema) นักศึกษา(รหัสประจำตัว,ชื่อ,คณะ,ที่อยู่)

แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตารางพนักงานและตารางแผนก Employee Foreign Key E-ID NAME ADDRESS PHONE DeptNo 001 Somchai Bangkok 02-2322212 110 002 Somsak Chonburi 053-34251 NULL 003 Somsri Ranong 041-45632 111 004 Somjai Nonthaburi Department DeptNo DeptName 110 Accounting 111 Marketing

รูปแบบที่ใช้แทนตาราง(Relation) สามารถเขียนแทนได้ดังนี้ Employee E-ID NAME ADDRESS PHONE DeptNo Department DeptNo DeptName หรือ โครงสร้างตาราง(Relation Schema) Employee(E-ID, NAME, ADDRESS, PHONE, DeptNo ) FK (DeptNo) to Department Department(DeptNo, DeptName) มี FK (คีย์นอก) ชื่อว่า DeptNo จากตาราง Department

การแปลง E-R Diagram ไปเป็นตาราง(Relation)

นักศึกษา(รหัสนักศึกษา,ชื่อ,นามสกุล,วันเกิด) Step 1 : Entity แบบปกติ กรณี Simple Attribute ขั้นตอนการแปลง Entity - สร้างรีเลชั่นสำหรับ Entity - ชื่อของ รีเลชั่นนำมาจาก ชื่อของ Entity - ชื่อของคอลัมน์ นำมาจากชื่อของ Attribute ของ Entity - Primary Key ของ รีเลชั่นนำมาจาก Primary Key ของ Entity นักศึกษา รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล วันเกิด นักศึกษา รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล วันเกิด หรือ นักศึกษา(รหัสนักศึกษา,ชื่อ,นามสกุล,วันเกิด)

นักศึกษา(รหัสนักศึกษา,ชื่อ,เลขที่,ตำบล, อำเภอ, จังหวัด, รหัสไปรษณีย์) Step 1 : Entity แบบปกติ กรณี Composite Attribute นักศึกษา รหัสนักศึกษา ชื่อ ที่อยู่ เลขที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด รหัสไปรษณีย์ ขั้นตอนการแปลง Entity - แยก Simple Attribute ที่บรรจุ อยู่ใน Composite Attribute ออกมาเป็นแต่ละแอททริบิวท์ของ รีเลชั่น นักศึกษา รหัสนักศึกษา ชื่อ เลขที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด รหัสไปรษณีย์ หรือ นักศึกษา(รหัสนักศึกษา,ชื่อ,เลขที่,ตำบล, อำเภอ, จังหวัด, รหัสไปรษณีย์)

Step 1 : Entity แบบปกติ กรณี Multivalued Attribute นักศึกษา เบอร์โทรศัพท์ ขั้นตอนการแปลง Entity - ต้องมีการสร้างรีเลชั่นสองรีเลชั่น - รีเลชั่นแรกจะบรรจุค่าแอททริบิวท์ที่มี อยู่ใน Entity ทั้งหมด ยกเว้นแอททริ บิวท์ที่เป็นแบบ Multivalued - รีเลชั่นที่สองให้บรรจุ 2 แอททริบิวท์ -แอททริบิวท์แรกคือ คีย์หลักที่ อยู่ในรีเลชั่นแรก -แอททริบิวท์สอง คือแอททริ บิวท์ที่เป็น Multivalued รหัสนักศึกษา นามสกุล ชื่อ นักศึกษา รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล เบอร์โทรศัพท์ รหัสนักศึกษา เบอร์โทรศัพท์ หรือ นักศึกษา(รหัสนักศึกษา,ชื่อ,นามสกุล) เบอร์โทรศัพท์(รหัสนักศึกษา, เบอร์โทรศัพท์) FK (รหัสนักศึกษา) to นักศึกษา

Step 2 : Weak Entity ขั้นตอนการแปลง Weak Entity - สร้างรีเลชั่นใหม่สำหรับ Weak Entity นำ Primary Key จาก Master Entity มาเป็น Primary Key ร่วมกับ Primary Key เดิมของ Weak Entity - แอททริบิวท์นั้นจะมาเป็น Foreign Key สำหรับชี้ไปยังรีเลชั่นของ Master Entity พนักงาน สมาชิกในครอบครัว มี รหัสพนักงาน ชื่อ แผนก ลำดับที่ ชื่อสมาชิก 1 M พนักงาน รหัสพนักงาน ชื่อ แผนก พนักงาน(รหัสพนักงาน,ชื่อ,แผนก) หรือ สมาชิกในครอบครัว(รหัสพนักงาน,ลำดับที่,ชื่อสมาชิก) สมาชิกในครอบครัว FK (รหัสพนักงาน) to พนักงาน รหัสพนักงาน ลำดับที่ ชื่อสมาชิก

การเปลี่ยนจากความสัมพันธ์เป็นตาราง(Relation)

Step 1 : One-to-One Relationship (1:1) ขั้นตอนการแปลงความสัมพันธ์แบบ 1:1 เป็นตาราง ให้นำ Primary Key ของ Entity ที่มีความสัมพันธ์กัน มาเป็น Foreign Key สำหรับชี้ไปยัง รีเลชั่นที่มีความสัมพันธ์กัน โดยจะนำจาก Entity ด้านใดก็ได้ รหัสพนักงาน หมายเลขที่จอดรถยนต์ พนักงาน จอดรถ ที่จอดรถ 1 ที่ตั้ง ชื่อ พนักงาน พนักงาน รหัสพนักงาน ชื่อ รหัสพนักงาน ชื่อ หมายเลขที่จอดรถ หรือ ที่จอดรถยนต์ ที่จอดรถยนต์ หมายเลขที่จอดรถยนต์ ที่ตั้ง รหัสพนักงาน หมายเลขที่จอดรถยนต์ ที่ตั้ง

Step 2 : One-to-Many Relationship (1:M) -ให้นำ Primary Key ของ Entity ฝั่ง one ไปแอททริบิวท์หนึ่งของ Entity ฝั่ง many ซึ่งแอททริบิวท์นั้นเป็น Foreign Key อ้างถึง Primary Key ของรีเลชั่นที่ต้องการอ้างถึง(ฝั่ง One) - การแปลง Many-to-One ก็กระทำอย่างเดียวกัน อาจารย์ เป็นที่ปรึกษา นักศึกษา 1 M รหัสอาจารย์ ชื่ออาจารย์ รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา อาจารย์ รหัสอาจารย์ ชื่ออาจารย์ อาจารย์(รหัสอาจารย์,ชื่ออาจารย์) หรือ นักศึกษา(รหัสนักศึกษา,ชื่อนักศึกษา,รหัสอาจารย์) FK (รหัสอาจารย์) to อาจารย์ นักศึกษา รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา รหัสอาจารย์

Step 3 : Many-to-Many Relationship (M:N) - ให้นำความสัมพันธ์นั้นมาสร้างเป็นตารางใหม่ โดยนำ Primary Key ของเอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์กับความสัมพันธ์นั้นมากำหนดเป็นแอททริบิวท์ของตารางใหม่ - พร้อมทั้งกำหนดให้ทำหน้าที่เป็น Primary Key หากความสัมพันธ์นั้นมีแอททริบิวท์ของความสัมพันธ์ด้วย ก็นำแอททริบิวท์นั้นมาเป็น แอททริบิวต์ของตารางใหม่ด้วย

Step 3 : Many-to-Many Relationship (M:N) นักศึกษา ลงทะเบียน วิชา N M รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา รหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวนหน่วยกิต ภาคการศึกษา นักศึกษา รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา นักศึกษา(รหัสนักศึกษา,ชื่อนักศึกษา) การลงทะเบียน(รหัสนักศึกษา,รหัสวิชา, ภาคการศึกษา) การลงทะเบียน หรือ FK (รหัสนักศึกษา) to นักศึกษา รหัสนักศึกษา รหัสวิชา ภาคการศึกษา FK (รหัสวิชา) to วิชา วิชา(รหัสวิชา,ชื่อวิชา,จำนวนหน่วยกิต) วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวนหน่วยกิต

Step 3 : Many-to-Many Relationship (M:N) นักศึกษา ลงทะเบียน วิชา N M รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา รหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวนหน่วยกิต ภาคการศึกษา นักศึกษา การลงทะเบียน วิชา N M รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา รหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวนหน่วยกิต 1 ภาคการศึกษา

Step 4 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Unary - ความสัมพันธ์แบบ Unary ชนิดหนึ่งต่อกลุ่ม (1:M) - ความสัมพันธ์แบบ Unary ชนิดกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)

Step 4 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Unary - สร้างรีเลชั่นใหม่หนึ่งรีเลชั่นแทนเอ็นทิตี้หนึ่งเอ็นทิตี้ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน - แปลงแอททริบิวท์ของเอ็นทิตี้ เป็น แอททริบิวท์ของรีเลชั่น - กำหนด Foreign Key ให้กับรีเลชั่น โดยนำมาจาก Primary Key ของรีเลชั่นเดียวกันและทำการเปลี่ยนชื่อแอททริบิวท์นั้นใหม่ พนักงานแต่ละคนจะแต่งงานกับพนักงานเพียงคนเดียวเท่านั้น รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน พนักงาน พนักงาน 1 แต่งงานกับ รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน รหัสพนักงานคู่สมรส

Step 4 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Unary ความสัมพันธ์แบบ Unary ชนิดหนึ่งต่อกลุ่ม (1:M) - สร้างรีเลชั่นใหม่หนึ่งรีเลชั่นแทนเอ็นทิตี้หนึ่งเอ็นทิตี้ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน - แปลงแอททริบิวท์ของเอ็นทิตี้ เป็น แอททริบิวท์ของรีเลชั่น - กำหนด Foreign Key ให้กับรีเลชั่น โดยนำมาจาก Primary Key ของรีเลชั่นเดียวกันและทำการเปลี่ยนชื่อแอททริบิวท์นั้นใหม่ ผู้คุมคนงานสามารถคุมคนงานได้มากกว่าหนึ่งคนขึ้นไป คนงานแต่ละคนจะถูกควบคุมโดยผู้ควบคุมเพียงคนเดียว รหัสคนงาน ชื่อคนงาน คนงาน 1 M ถูกควบคุม คนงาน รหัสคนงาน ชื่อคนงาน รหัสผู้ควบคุม

รหัสวิชาที่เป็นเงื่อนไข Step 4 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Unary วิชาแต่ละวิชาสามารถมีเงื่อนไขของวิชาซึ่งเป็นวิชาอื่นๆได้มากกว่าหนึ่งวิชาขึ้นไป วิชาที่เป็นเงื่อนไขของรายวิชาหนึ่งๆก็สามารถเป็นเงื่อนไขของวิชาอื่นได้มากกว่าหนึ่งวิชาเช่นกัน ความสัมพันธ์แบบ Unary ชนิดกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N) - จะต้องสร้างรีเลชั่น 2 รีเลชั่นด้วยกัน - โดยรีเลชั่นแรกจะมีคีย์หลักพร้อม แอททริบิวท์ที่เกี่ยวข้อง - ส่วนอีกรีเลชั่นประกอบด้วยสอง แอททริบิวท์ที่ใช้เป็นคีย์หลัก ซึ่ง แอททริบิวท์ทั้งสองก็คือค่าข้อมูลเดียวกันกับคีย์หลักในเอ็นทิตี้แรก แต่เปลี่ยนชื่อให้แตกต่างกัน วิชา M N การเป็นเงื่อนไขวิชา ชื่อวิชา รหัสวิชา วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา การเป็นเงื่อนไขรายวิชา รหัสวิชา รหัสวิชาที่เป็นเงื่อนไข

Step 5 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Ternary ผู้ผลิต สินค้า M N ผลิต/ส่ง ลูกค้า รหัสผู้ผลิต ชื่อผู้ผลิต รหัสสินค้า ชื่อสินค้า รหัสลูกค้า ชื่อลูกค้า จำนวนสินค้า วันที่ส่ง ผู้ผลิต สินค้า M การผลิตและส่งสินค้า ลูกค้า รหัสผู้ผลิต ชื่อผู้ผลิต รหัสสินค้า ชื่อสินค้า รหัสลูกค้า ชื่อลูกค้า จำนวนสินค้า วันที่ส่ง 1

Step 5 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Ternary ชนิดกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N) - จะต้องสร้างรีเลชั่น 4 รีเลชั่นด้วยกัน - โดยจะมีเอ็นทิตี้หนึ่งเชื่อมโยงระหว่าง สามเอ็นทิตี้เข้าด้วยกัน - เอ็นทิตี้นั้นจะนำPrimary Key ใน สามเอ็นทิตี้มาเป็น Primary Key และอาจเพิ่มเติม Primary Key ได้ สินค้า รหัสสินค้า ชื่อสินค้า ลูกค้า รหัสลูกค้า ชื่อลูกค้า ผู้ผลิต รหัสผู้ผลิต ชื่อผู้ผลิต การผลิตและส่งสินค้า เลขที่ใบส่งของ รหัสผู้ผลิต รหัสลูกค้า รหัสสินค้า วันที่ส่ง จำนวนที่ส่ง

1. จงแปลง ER Diagram ต่อไปนี้ให้เป็นตาราง แบบฝึกหัด 1. จงแปลง ER Diagram ต่อไปนี้ให้เป็นตาราง N M 1

2. จงแปลง ER Diagram ต่อไปนี้ให้เป็นตาราง อาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา ประวัตินักศึกษา วิชา มี ลงทะเบียน รหัสอาจารย์ ชื่ออาจารย์ ห้องพัก เลขที่บัตร วันเกิด เชื้อชาติ ที่อยู่ วันที่เข้าเรียน รหัสนักศึกษา ชื่อ คณะ ชั้นปี รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต 1 M N

3. จงแปลง ER Diagram ต่อไปนี้ให้เป็นตาราง N 1 รหัสเที่ยวบิน