การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

ผศ.ดร.ศิรภัสสร วงศ์ทองดี
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
หลักการจัดการเรียนการสอน
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
ในอุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช กรรมการบริหารสถาบันคลังสมองฯ นำเสนอในการประชุมเพื่อนําเสนอผลจากการดําเนินงานตามโครงการปฎิบัตกิ าร ภายใต้หลักสูตรคณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลงรุ่น.
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
รศ.ดร. กุลยา ตันติผลาชีวะ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
Heart : การเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม. Heart ประเด็นการนำเสนอ  1. นิยามศัพท์  2. จุดมุ่งหมายการจัดกิจกรรมฯ  3. แนวทางการจัดกิจกรรมฯ  4. รูปแบบการจัดกิจกรรมฯ.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ครูสมศรีกับยุคปฏิรูปการศึกษา
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
ระดับหลักสูตร ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล มีนาคม 2561.
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
จิตวิทยาการเรียนรู้.
EEN3204 การออกแบบและผลิตสื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2 (1-2-3)
Principles of Communication Arts
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
การวัดและประเมินผลการศึกษา
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
นโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ปีการศึกษา 2559
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
วิเคราะห์โรฮิงยา สาระฯหน้าที่พลเมือง.
การวิจัยในชั้นเรียน( Classroom Action Research)
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
Hilda  Taba  (ทาบา).
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
หลักการวัดและการประเมินผล
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
การวัดผลและประเมินผลพฤติกรรมของมนุษย์
การประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินการเรียนการสอน
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ
กระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภค
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เทคนิคการเขียนข้อสอบ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
หลักการออกแบบระบบการสอน
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
ตามรอยพุทธธรรม.
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ผศ.ดร.สำราญ กำจัดภัย กศ.บ. คณิตศาสตร์-อังกฤษ กศ.ม. จิตวิทยาพัฒนาการ กศ.ด. วิจัยและประเมินผลการศึกษา ผู้สอน

ยินดีต้อนรับ..สู่การเรียนรู้ มาบริหารสมองกันเถอะ

แดงอายุแก่กว่าดำ ดำอายุอ่อนกว่าขาว เขียวอายุแก่กว่าแดงแต่อ่อนกว่าขาว แดงอายุแก่กว่าดำ ดำอายุอ่อนกว่าขาว เขียวอายุแก่กว่าแดงแต่อ่อนกว่าขาว 1. ใครอายุแก่ที่สุด 2. ใครอายุอ่อนที่สุด 3. จงเรียงลำดับจากคนอายุอ่อนที่สุดไปหาแก่ที่สุด เฉลย

1 3 2 แดงครับ เขียวครับ ดำครับ คนที่นั่งข้างเธอชื่ออะไร เธอชื่ออะไร พูดจริงเสมอ พูดเท็จเสมอ จริงบ้างเท็จบ้าง

ลักษณะของเซลล์สมองของมนุษย์

การเชื่อมโยงของเซลล์สมอง ในเด็กแรกเกิด การเชื่อมโยงของเซลล์สมอง ในเด็ก 2 เดือน การเชื่อมโยงของเซลล์สมองในเด็ก 2 ขวบ

เซลส์สมองที่ยังไม่ได้รับการเสริมสร้างพัฒนา เซลส์สมองที่ได้รับการเสริมสร้างพัฒนา

เทคนิคการฟังบรรยายเพื่อการเรียนรู้ ตาดู หูฟัง สมองคิดตาม มือจดบันทึก ปากถาม/แสดงความคิดเห็น

แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดผล (Measurement) การประเมินผล (Evaluation) การเรียนรู้ (Learning) มีคำสำคัญ

การเรียนรู้ (Learning) คืออะไร ที่ค่อนข้างถาวร การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ประสบการณ์ Cognitive Domain Affective Domain Psychomotor Domain Bloom

ความสามารถด้านการคิด พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านสติปัญญา (พุทธิพิสัย) 6 ระดับของBloom ความจำ (ความรู้) ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า ความสามารถด้านการคิด ความรู้

พฤติกรรมด้านจิตลักษณะ (จิตพิสัย) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายใจจิตใจของมนุษย์เกี่ยวข้องกับความรู้สึกอารมณ์และจิตใจของบุคคล เช่น ความสนใจ ความซาบซึ้ง เจตคติ ค่านิยม ความต้องการ การปรับตัว คุณธรรมจริยธรรม บุคลิกภาพ เป็นต้น เป็นสิ่งที่สร้างสมขึ้นจนเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล การเกิดจิตพิสัยภายในตัวบุคคลนั้น จะพัฒนาจากระดับต่ำจนถึงระดับสูง ได้แก่ การรับรู้ การตอบสนอง การสร้างคุณค่า การจัดระบบคุณค่า และการสร้างลักษณะนิสัย การพัฒนาให้เกิดจิตพิสัยในระดับสูงต้องอาศัยพื้นฐานระดับการเรียนรู้ที่ต่ำกว่า

5. สร้างลักษณะนิสัย (Characterization) 4. จัดระบบ (Organization) 3. เห็นคุณค่า (Valuing) 2. ตอบสนอง (Responding) 1. รับรู้ หรือใส่ใจ (Receiving or attending)

พฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวกับ ความสามารถในการปฏิบัติสิ่งต่างๆของบุคคล เป็น พฤติกรรมที่บุคคลสามารถใช้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆของ ร่างกายทำงานให้ประสานกับ จิตใจ หรือประสาทสัมผัส ได้อย่างรวดเร็ว เช่น การได้ยิน การเห็น การเคลื่อนไหว ตามต้องการ การแสดงสีหน้าท่าทาง การสื่อสารโดยใช้ เสียง เป็นต้น

ตัวอย่าง พฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย - เขียนภาพตามแบบที่กำหนดได้ - วางท่าทางในการพูดได้เหมาะสม - อ่านได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว - แสดงท่าทางตามจินตนาการได้ - ฟังและแยกเสียงต่างๆได้ - แต่งกายได้เรียบร้อย - ใช้เครื่องมือดับเพลิงได้ถูกต้อง ฯลฯ

Bloom กล่าวว่า เมื่อเกิดการเรียนรู้ในแต่ละครั้งจะต้องมี การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น 3 ประการ จึงจะเป็นการเรียนรู้ที่สมบูรณ์

การนำเครื่องมือ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง การวัดผลการเรียนรู้ กระตุ้น ผู้เรียน การนำเครื่องมือ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง แสดงข้อมูล ออกมา

ให้สารสนเทศ ป้อนกลับ (Feedback) เพื่อการพัฒนาผู้เรียน/ การประเมินผลการเรียนรู้ ประมวลผล การนำข้อมูล เทียบกับเกณฑ์ ให้สารสนเทศ ป้อนกลับ (Feedback) เพื่อการพัฒนาผู้เรียน/ การเรียนการสอน รวบรวม เป็นส่วนหนึ่งเพื่อ ตัดสินผลการเรียน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ /การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

บทบาทของผู้สอน

การจัดการเรียนรู้ หลักการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ ให้ยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสำคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม

กระบวนการเรียนรู้ ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการวิจัย เพราะจะช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี ดังนั้น ผู้สอนจำเป็นต้องทำความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจ (มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน) แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้ วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด

คิดอย่างไรกับภาพ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คิดว่า ควรมีการปฏิรูปการวัด และประเมินผลการเรียนรู้อย่างไร

กระตุ้นให้คิด การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ควรเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงบรรยายอย่างเป็นระบบ แล้ว (1) นำสารสนเทศที่รวบรวมได้มาเรียบเรียงให้เห็นคุณลักษณะที่แท้จริงทั้งจุดเด่นที่ควรพัฒนาและจุดด้อยที่ควรปรับปรุง หรือ (2) เพื่อตัดสินผลการเรียน

กระตุ้นให้คิด (ต่อ) การนำผลการวัดเชิงปริมาณมาใช้ประเมิน เพียงอย่างเดียวทำให้สถานศึกษาเปรียบเสมือนศาล ที่มีผู้สอนเป็นผู้พิพากษา มีผู้เรียนเป็นจำเลย ในสถานการณ์จริงผู้เรียนไม่ใช่จำเลย ไม่ใช่ผู้ต้องคดี หรือผู้ต้องหา แต่เขาเป็นผู้ที่ต้องการพัฒนาให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ

กระตุ้นให้คิด (ต่อ) ดังนั้น การประเมินการเรียนรู้จึงไม่ควรมีความหมายแค่นำผลการวัดเชิงปริมาณที่ได้มาตัดสินว่าสอบได้หรือสอบตก เรียนดี หรือเรียนไม่ดีเท่านั้น แต่ควรเป็นการประเมินที่นำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน

for your best intentions.