การแปลงนโยบายสู่ปฏิบัติ ดร. อุทิศ ขาวเธียร (ผู้ทรงคุณวุฒิด้านยุทธศาสตร์ฯ) ป.ป.ช.
ดร. อุทิศ ขาวเธียร ( cantab ‘84 ) แนะนำผู้บรรยาย ดร. อุทิศ ขาวเธียร ( cantab ‘84 ) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านยุทธศาสตร์ กรรมการสภาวิทยาลัยสยาม อดีตรองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการสภามหาวิทยาลัย ราชภัฎอุบลราชธานี กรรมการบริหาร สภาวิจัยแห่งชาติ (2549-2552) วุฒิสถาปนิก : (ว-สผ 2) ; กรรมการ สภาสถาปนิก ประเทศไทย (2543-2546) ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีพระจอมเกล้า(ลาดกระบัง) Far Eastern University (Philippines) ปริญญาโท ผังเมือง/แผน สิ่งแวดล้อม University of the Philippines (UP.) ปริญญาเอก-เศรษฐศาสตร์ประยุกต์(แผนภาค-ผังเมือง) ติดต่อ;- Mobile tel.(081) 815-3950 University of Cambridge; UK. E-mail < utis_kao@nacc.go.th >
วิวัฒนาการของ...กระบวนการวางแผนพัฒนาประเทศ แผนฯ 1 04-09 แผนฯ 2 10-14 แผนฯ 3 15-19 แผนฯ 4 20-24 แผนฯ 5 25-29 แผนฯ 6 30-34 แผนฯ 7 35-39 แผนฯ 8 40-44 แผนฯ 9 45-49 แผนฯ10 50-54 Balanced Development Sufficiency econ. Growth Sustainable development Industrialization Integrated&Cluster Top-down Top-down & Bottom up Project Analysis Setoral Analysis Inter-Setoral Analysis Programming (Issues) & Comprehensive App. Strategic Plan
กระบวนทรรศน์ใหม่ของแผนฯ 8-10 การพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน แผนฯ 10 2550-54 คน เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน เน้นการปฏิบัติตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง คนเป็นศูนย์กลาง/ ความอยู่ดีมีสุข สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ร่วมกัน ดุลยภาพเชิงพลวัตร วิธีการ-บูรณาการ/ องค์รวม/คุณธรรมนำ ความรอบรู้/ใช้ทุนประเทศ สร้างเครือข่าย-การมีส่วนร่วมพัฒนาทุกขั้นตอน แผนฯ 9 2545-49 แผนฯ 8 2540-44 ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง คนเป็นศูนย์กลาง/ ความอยู่ดีมีสุข สังคม-สิ่งแวดล้อม- เศรษฐกิจ สู่สมดุล/ ยั่งยืน วิธีการ-บูรณาการ/ องค์รวม มุ่งคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา-เศรษฐกิจเป็นเครื่องมือ วิธีการ-บูรณาการ/องค์รวม สร้างการมีส่วนร่วมจากล่าง-ขึ้นบน โดยประชาชนเพื่อประชาชน 4
ค น กระบวนทรรศน์การพัฒนาที่ปรับเปลี่ยน...สู่ความพอเพียง ภูมิ- สังคม ยึดคนเป็นตัวตั้ง ประชาชนได้รับประโยชน์ มีความอยู่ดีมีสุข ปรับจาก มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ สู่ คนเป็นศูนย์กลาง ความอยู่ดีมีสุข ผล ประโยชน์ประชาชน ยึดหลัก “ภูมิสังคม” ตามความแตกต่างหลากหลายของ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ กับวิถีชีวิตชุมชน ภูมิ- ปรับวิธีคิดแบบแยกส่วนรายสาขา สู่ องค์รวมบูรณาการเชื่อมโยงทุกมิติ ค น สังคม การมีส่วนร่วมของประชาชน ปรับกระบวน การพัฒนาจากบนลงล่าง เริ่มพัฒนา “ตามลำดับขั้น” ด้วยการพึ่งพาตนเอง-รวมกลุ่ม- สร้างเครือข่าย-เชื่อมสู่ภายนอก “ระเบิดจากข้างใน” สู่ กระบวน การพัฒนาจากล่างขึ้นบน การอยู่ร่วมกันด้วยสันติสุขระหว่างคนกับคน ระหว่างคนกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง แนวคิด แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ พอประมาณ หลักการ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี ความรอบรู้ คุณธรรม ความเพียร เงื่อนไข ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ขยันหมั่นเพียร มีสติ เชื่อมโยงวิถีชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/การเมือง สร้างสมดุล/มั่นคง/เป็นธรรม/ยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เป้า ประสงค์
การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับบริบทการพัฒนาประเทศ คนเป็นศูนย์กลาง บนพื้นฐานดุลยภาพเชิงพลวัตร พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ความรอบรู้ คุณธรรม ความเพียร คน สังคม การพัฒนาคุณภาพคน สังคมแห่งศีลธรรม ฐานความรู้ ดุลยภาพจิตใจ-วัตถุ พึ่งพาตนเอง ปรับตัวรู้เท่าทันโลก สร้างภูมิคุ้มกันแก่ครอบครัวชุมชน สังคม ประเทศ “สังคม อยู่เย็น เป็นสุขร่วมกัน” การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงสู่ภายนอก ชนบท-เมือง ชุมชน ดุลยภาพภายใน จัดการความเสี่ยง/ ภูมิคุ้มกัน การพัฒนาเศรษฐกิจไทยบนฐานการผลิตที่แข็งแกร่งด้วยองค์ความรู้ สร้างคุณค่าเพิ่ม เศรษฐกิจ ดุลยภาพภายใน- โลกาภิวัตน์ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพ สวล. อนุรักษ์-ใช้ประโยชน์ ทรัพยากรฯ ดุลยภาพภายใน การเสริมสร้างระบบและวัฒนธรรมธรรมาภิบาล และประชาธิปไตย แข่งขัน-กระจายประโยชน์อย่างเป็นธรรม ธรรมาภิบาล กระจายอำนาจ อย่างเป็นธรรม
กระบวนการจัดทำแผนฯ 10 วิเคราะห์การ ประเมินผล แผนฯ 9 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนต่างๆ ในสังคม ร่วมระดมความคิดจัดทำแผนฯ 10 อย่างกว้างขวาง ร่วมสร้างวิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ ประมวลแนวคิด ประเมินผล แผนฯ 9 สถานะของ ประเทศ วิเคราะห์การ เปลี่ยนแปลง บริบทโลก วิเคราะห์ 3 ทุน เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรฯ ศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย อนุมัติและ ประกาศใช้ แผนฯ 10 ยกร่างรายละเอียดแผน(กลยุทธ์) 8
บริบทการเปลี่ยนแปลงต่อการพัฒนาประเทศ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน สาระชี้นำของแผนฯ 10 บริบทการเปลี่ยนแปลงต่อการพัฒนาประเทศ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน สังคม การเคลื่อนย้ายคนเสรี 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 5 บริบท พันธกิจ เทคโนโลยี พัฒนาคน ให้มีคุณภาพ คุณธรรม รอบรู้เท่าทัน ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ เสริมสร้างเศรษฐกิจมีคุณภาพเสถียรภาพและเป็นธรรม ดำรงความหลากหลายทางชีวภาพสร้างความมั่นคงทางฐานทรัพยากรคุณภาพสิ่งแวดล้อม ประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมาและวิเคราะห์แนวโน้มสภาวะประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศ ให้เกิดธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพ สวล. สถานะของประเทศ เป้าหมาย ด้านสังคม : คุณภาพการศึกษา หลักประกันสุขภาพทั่วถึง คุณธรรม-จริยธรรมลดลง เสี่ยงต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ด้านคุณภาพคน ความเข้มแข็งชุมชนและสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ด้านธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์การเสริมสร้าง ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ ด้านเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจโตต่อเนื่อง ฐานการผลิตหลากหลาย พึ่งพาการนำเข้าสูง คนจนลดลง บทบาทภาคี ภาครัฐ/ภาคการเมือง/ภาคเอกชน/สถาบัน/สื่อ/ภาคชุมชน/ประชาชน ด้านสิ่งแวดล้อม : ความอุดมสมบูรณ์ระบบนิเวศน์เริ่มเสียสมดุล คุณภาพสิ่งแวดล้อม เสื่อมโทรม การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา ด้านธรรมาภิบาล : ภาคราชการปรับตัวทันสมัยมีประสิทธิภาพ มีการกระจายอำนาจสู่ส่วนท้องถิ่น ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น
สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน การพัฒนาประเทศ แผนฯ10 วิสัยทัศน์ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน คนไทยมีคุณธรรมนำความรอบรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ เป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดำรงไว้ซึ่งระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี พันธกิจการพัฒนา พัฒนาคน ให้มีคุณภาพ พร้อมคุณธรรม และรอบรู้อย่าง เท่าทัน ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ พัฒนาระบบบริหาร จัดการประเทศให้เกิด ธรรมาภิบาลภายใต้ ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ เป็นธรรม ดำรงความหลากหลาย ทางชีวภาพสร้างความ มั่นคงของฐานทรัพยากร ธรรมชาติ และคุณภาพสิ่งแวดล้อม
5 ยุทธศาสตร์ในระยะแผนฯ 10 พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ ยุทธศาสตร์ การพัฒนา เสริมสร้าง ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลยั่งยืน พัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
นำความรู้เกิดภูมิคุ้มกัน เสริมสร้างสุขภาวะคนไทย ให้แข็งแรง พัฒนาคนให้มีคุณธรรม นำความรู้เกิดภูมิคุ้มกัน เสริมสร้างสุขภาวะคนไทย ให้แข็งแรง ให้มีจิตใจดีงาม มีสำนึกสาธารณะ สติปัญญา เพิ่มพูน ความรู้และทักษะให้แก่แรงงาน เร่งผลิต นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดการองค์ความรู้ ท้องถิ่นและสมัยใหม่ พัฒนาระบบการรักษา ควบคู่กับการป้องกัน และฟื้นฟูร่างกาย/จิตใจส่งเสริมการบริโภค ที่ปลอดภัยใช้สมุนไพรภูมิปัญญาไทย ร่วมกับเทคโนโลยีสะอาด ในการผลิต ลดละเลิก พฤติกรรมเสี่ยง ต่อสุขภาพ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เสริมสร้างคนไทยอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข สร้างครอบครัวให้เข้มแข็ง สร้างหลักประกันที่มั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม ให้ประชาชน ด้านอาชีพ สวัสดิการสังคม การออม การดำรงชีวิตที่ปลอดภัยสงบสุข รวมทั้งขยายบริการสังคมแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ การบริหารจัดการกระบวนการ ชุมชนเข้มแข็ง ส่งเสริมการรวมกลุ่มเปิดพื้นที่สาธารณะจัดกิจกรรม เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ปรับปรุงกลไก กฎระเบียบ เพื่อสนับสนุนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง จัดการองค์ความรู้ชุมชนและระบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร และพัฒนาต่อยอดสร้างครอบครัว ระบบความสัมพันธ์ในชุมชน ให้มั่นคงเข้มแข็งเป็นภูมิคุ้มกัน สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน เสริมสร้างศักยภาพ ของชุมชนอยู่ร่วมกับ ทรัพยากรอย่างเกื้อกูล รวมกลุ่มในรูปสหกรณ์นำภูมิปัญญา ท้องถิ่นมาสร้างสรรค์คุณค่าสินค้า และบริการ ให้สิทธิชุมชนร่วมบริหารจัดการ ทรัพยากรสร้างกลไกให้ชุมชน ปกป้องคุ้มครองทรัพยากร
ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ให้สมดุลและยั่งยืน สนับสนุนให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม และ กระจายผลประโยชน์การพัฒนาอย่างเป็นธรรม ส่งเสริมการแข่งขันการประกอบธุรกิจอย่างเสรีและเป็นธรรม กระจายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสู่ภูมิภาคอย่างสมดุล เป็นธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการระบบการเงินฐานราก ดำเนินนโยบายการคลังเพื่อส่งเสริมการกระจายรายได้ ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ให้สมดุลและยั่งยืน สร้างภูมิ คุ้มกันระบบเศรษฐกิจ ปรับโครงสร้างการผลิต บริหารเศรษฐกิจส่วนรวมให้มี ประสิทธิภาพ ส่งเสริมการออมเพิ่มทางเลือกระดมทุน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เร่งรัดใช้พลังงานทดแทน ปรับโครงสร้างภาคเกษตร/ อุตสาหกรรม/บริการ พัฒนาปัจจัยสนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิต
ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดล้อม สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อการพัฒนาที่ยังยืน พัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดมลพิษ จัดการองค์ความรู้ สร้างภูมิคุ้มกันสร้าง นวัตกรรมจากทรัพยากรชีวภาพ รักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ พัฒนาระบบฐานข้อมูล สร้างองค์ความรู้ ส่งเสริมสิทธิชุมชนร่วมจัดการดิน น้ำ ป่า แร่ พัฒนาระบบจัดการร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากร และแก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างสันติวิธี
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ ปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบ สร้างความ เข้มแข็งภาคประชาชน สร้างภาค ราชการให้มี ธรรมาภิบาล ให้ภาคีต่างๆ ร่วมเสนอแนะ/ ตรากฎหมาย เพื่อประสานประโยชน์อย่างเสมอภาคเป็นธรรม สร้างเครือข่ายกลไกตรวจสอบภาคประชาชนให้เข้มแข็ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบส่วนรวม ลดการบังคับควบคุม พัฒนาวัฒนธรรม ประชาธิปไตย ปลูกฝังจิตสำนึกคุณธรรม เพิ่มประสิทธิภาพกลไกตรวจสอบ กระจายอำนาจ สู่ภูมิภาคท้องถิ่น/ชุมชน ธรรมาภิบาล ภาคเอกชน รักษาและเสริมสร้างความมั่นคง สร้างจิตสำนึกที่ซื่อสัตย์ ยุติธรรมเป็นธรรม รับผิดชอบ ต่อสังคม ให้ท้องถิ่นรับผิดชอบ จัดบริการสาธารณะ ให้ประชาชนร่วม พัฒนาท้องถิ่นของตน พัฒนาศักยภาพ บทบาท ภารกิจ หน่วยงานด้านการป้องกันประเทศสร้างความมั่นคงของ ประชาชน/สังคม
บทบาทภาคีการพัฒนา ภาครัฐ การเมือง ประชาชน เอกชน สื่อมวลชน วิชาการ เป็นแกนจัดทำนโยบายแผน ยุทธศาสตร์/สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ผลักดันสู่ปฏิบัติ ติดตามผล สนับสนุนข้อมูลวิชาการ ดำเนินนโยบายต่อเนื่อง โปร่งใส เป็นธรรม ผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัติเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ประชาชน เอกชน มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาและติดตามตรวจสอบ มีสำนึกความเป็นพลเมือง รับผิดชอบต่อหน้าที่ เคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น สนับสนุนทรัพยากร สร้างประโยชน์และความเป็นธรรมแก่สังคมคืนกำไรสู่สังคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ สื่อมวลชน วิชาการ เป็นสื่อกลางสะท้อนข้อเท็จจริง ความรู้ ข้อมูลข่าวสารอย่างมี คุณภาพ สร้างสรรค์ ร่วมติดตามตรวจสอบและรณรงค์สร้างจิตสำนึกสาธารณะ สร้างความรู้ เป็นแหล่งข้อมูลให้สังคม จุดประกายความคิด สร้างความรู้ เข้าใจทางเทคนิควิชาการ
การขับเคลื่อนแผนฯ 10 สู่การปฏิบัติ การพัฒนาคุณภาพคนฯ การสร้างความเข้มแข็งชุมชนฯ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฯ การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพฯ การเสริมสร้างธรรมาภิบาลฯ กำหนดแนวทางลงทุนสำคัญตามยุทธศาสตร์แผนฯ 10 การติดตาม ประเมิน ผล พัฒนา ระบบ ข้อมูล แผนยุทธศาสตร์/ แผนปฏิบัติการระดับต่างๆ ภาครัฐ ชุมชน ภาคเอกชน/สถาบัน/สื่อ ครอบครัว แผนองค์กร/สถาบัน ทบทวนปรับปรุง ยกร่างกฎหมาย ที่จำเป็น แผนชุมชน แนวทางดำรงวิถีชีวิตคน/ครอบครัว ศึกษาวิจัยสร้างองค์ความรู้ เชิงลึกหนุนเสริมสร้างขับเคลื่อน สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ความสัมพันธ์แผนและการปฏิบัติของประเทศไทย แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนกระทรวงฯ แผนบริหารฯ รัฐธรรมนูญ นโยบายทางการเมือง แผนฯ4 ปี-1 ปี แผนฯจังหวัด แผนฯกรม แผนพื้นที่-ท้องถิ่น แผนงานปฏิบัติ การดำเนินงาน อุทิศ;การวางแผนยุทธศาสตร์;กพ.2551
ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก จากแผนฯ 10 ................... ถึงปัจจุบัน 2547 2 ปีแรกของแผนฯ 10 (50 - 51) ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก เชื่อมโยงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง เช่น ASEAN +3, ASEAN +6 เป็นต้น สัดส่วนการส่งออกไทยในโลก เพิ่มขึ้นเป็น 1.12% (ช่วงแผนฯ 9 = 1.08%) ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีใหม่เพิ่มอย่างต่อเนื่อง มีการจดสิทธิบัตรเพิ่มมากขึ้นในประเทศไทย เทคโนโลยี สัดส่วนผู้สูงอายุ (60ปี+) 2548 2552 10.4 11.5 สังคม * ยังคงมีโรคระบาดใหม่เกิดขึ้น เช่น ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (AH1N1) การเคลื่อนย้ายคนเสรี แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และผู้หลบหนีเข้าเมือง เช่น โรฮิงญา ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม ภาวะอากาศแปรปรวน น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ราคาน้ำมันยังคงผันผวน ทำสถิติสูงสุดที่ 147 $/bbl (กลางปี 51) การผลิตพลังงานทางเลือกจากพืช
การเมือง&ความมั่นคงของประเทศ ประเด็นการพัฒนาประเทศสู่....แผนฯ 11 1 ด้านความท้าทายและโอกาสของเศรษฐกิจไทย: วิกฤติการเงินโลกได้ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยน ภูมิทัศน์ใหม่ จึงจำเป็นต้องกำหนดแนวทางในการเปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส ด้วยการกำหนดยุทธศาสตร์ในการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง 2 ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์: ส่งเสริมการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการผลิตและบริการให้มีการสร้างมูลค่าเพิ่มที่สูงขึ้น ในขณะเดียวกันจะเป็นการสร้างธุรกิจใหม่ที่ใช้ศักยภาพแฝงซึ่งมีอยู่ในสังคมไทย การเมือง&ความมั่นคงของประเทศ 3 ด้านโอกาสบนวิกฤตภาวะโลกร้อน: รู้วิกฤติ สร้างโอกาสการพัฒนาเพื่อป้องกัน เตือนภัย และบรรเทาภัยต่อผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เน้นการเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อการพัฒนาในอนาคตสู่ ‘เศรษฐกิจและสังคมสีเขียว’ 4 ด้านสถาปัตยกรรมทางสังคม: เน้นการสร้างผลิตภาพและคุณภาพทั้งในเชิงความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และมีคุณธรรมนำ ซึ่งรวมถึงการสร้างจิตสำนึกสาธารณะให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืน 5 ด้านสัญญาประชาคมใหม่: เป็นแนวปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ปลอดภัยและมั่นคง เน้นสร้างความเข้มแข็งของโครงสร้าง กลไกและกระบวนการบริหารจัดการของทุกภาคส่วนของสังคม
การพัฒนาคน ทุกกลุ่มตามช่วงวัย เสริมสร้างความร่วมมือ สังคมอนาคต ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระกษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประเด็นยุทธศาสตร์ สภาพ สังคม ไทย ที่พึง ปรารถนา ใน 20 ปี แนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงจาก ปัจจัยภายนอก การปรับโครงสร้าง ทางสังคม การส่งเสริมบทบาท ครอบครัวและชุมชน แนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงจาก ปัจจัยภายใน การพัฒนาคน ทุกกลุ่มตามช่วงวัย เสริมสร้างความร่วมมือ กับประเทศในภูมิภาค
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สังคมไทยจะเผชิญ ปัจจัย ภายนอก โครงสร้างประชากรโลกเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ ประชากรเมืองมากกว่าร้อยละ 60 การเคลื่อนย้ายของคนเป็นไปอย่างเสรีมากขึ้น ภาวะโลกร้อนส่งผลต่อความมั่นคงด้าน เกษตร อาหาร สุขภาพอนามัยประชาชน ปัจจัย ภายใน โครงสร้างประชากรไทย เปลี่ยน ส่งผลให้ไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ปี 2570 การรวมกลุ่มความร่วมมือระหว่าง ประเทศมีมากขึ้นในมิติสังคมวัฒนธรรม ความเป็นเมืองมีแนวโน้มสูงขึ้น ส่งผลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ปฏิสัมพันธ์ของคนในเมือง-ชนบท เทคโนโลยี ก้าวกระโดด ผสมผสาน สถาบันครอบครัวมีแนวโน้มอ่อนแอ สัมพันธภาพเปราะบาง ชุมชนและท้องถิ่นจะทวีบทบาทความสำคัญ มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา แก้ไขปัญหาทุกมิติอย่างบูรณาการ
ผลการเปลี่ยนแปลงประชากร อัตราส่วนการเป็นภาระ วัยแรงงานต่อผู้สูงอายุ 2 5 5 0 2 5 6 0 2 5 7 0 วัยแรงงาน 3 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน วัยแรงงาน 6 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน วัยแรงงาน 4 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน การลงทุนด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข และด้านสวัสดิการสังคม การมีอัตราภาวะเจริญพันธุ์ที่ต่ำกว่าระดับทดแทน อาจเป็นปัญหาในระยะยาว ประชากรรวมของประเทศ 66.04 ล้านคน ปี 2550 จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง จนถึงปี 2568 มีจำนวนประชากรสูงสุด 70.65 ล้านคน และเริ่มลดลงจากนั้น 24 24
สภาพสังคมไทยที่พึงปรารถนาใน 20 ปีข้างหน้า คนไทยมีความรู้ ความสามารถ และทักษะชีวิตที่ดี มีจิตสาธารณะ มีทักษะความรอบรู้ ได้รับการพัฒนาที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ครอบครัวมีความรัก ความอบอุ่น มีสัมพันธภาพที่ดี เสริมสร้าง ค่านิยมที่ดีให้แก่สมาชิกในครอบครัว ชุมชนมีความเอื้ออาทรพึ่งตนเองได้ รวมกลุ่มเข้มแข็ง ปรับตัวพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง มีบทบาทในการพัฒนา จัดการปัญหาด้วยตนเอง สังคมมีความปลอดภัย มั่นคง ด้วยปัจจัยพื้นฐาน บริการสาธารณะ ที่มีคุณภาพ พอเพียงเกื้อหนุนการสร้างสังคมไทยให้เข้มแข็ง มีการพัฒนาที่สมดุลในทุกมิติตามภูมิสังคม ประเทศไทยเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับประเทศเพื่อนบ้านและอนุภูมิภาค
ร่างแนวคิดวิสัยทัศน์และ พันธกิจ อนาคต วิสัยทัศน์ประเทศไทยปี 2570 “คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรมประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง มีคุณภาพ สังคมมีความปลอดภัยและมั่นคง อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน อยู่บนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและแข่งขันได้ในเวทีโลก สามารถอยู่ในประชาคมภูมิภาคและโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี” พันธกิจของประเทศ การพัฒนาต้องอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจประเทศไทยให้พึ่งตนเองและแข่งขันได้ในตลาดโลก ปรับโครงสร้างทางสังคมให้มีความเอื้ออาทรและพึ่งพาตนเองได้ สามารถดำรงอยู่อย่างมั่นคงภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลง ร่วมมือกันจัดการทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ ประชาชนต้องดำเนินชีวิตด้วยจิตสำนึกในคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างวัฒนธรรมประชาธิปไตยควบคู่กับการบริหารจัดการที่ดีเพื่อสร้างสันติสุขและความเป็นธรรมในสังคมไทย
1 2 3 4 วิสัยทัศน์ ประเทศไทย สู่ปี 2570 แนวโน้ม ปัจจัยภายนอก เศรษฐกิจโลก การเงิน ประชากร สูงอายุ ในโลก เทคโนโลยี การรวมตัว ทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาค ภาวะโลกร้อน วิสัยทัศน์ ประเทศไทย สู่ปี 2570 แนวโน้ม ปัจจัยภายนอก แนวโน้ม ปัจจัยภายใน 1 2 3 4 การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้พึ่งพาตนเองและแข่งขันได้ในสังคมโลก การปรับโครงสร้างทางสังคมให้เข้มแข็งและยั่งยืน การจัดการทรัพยากรฯ และสิ่งแวดล้อมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน การบริหารจัดการ ที่ดีสู่ความเป็นธรรมของการพัฒนาประเทศ 27 27
ผังเปรียบเทียบความสัมพันธ์และการประสานการชี้นำ ของแผนระดับต่างๆ (เป้าประสงค์(ทิศทาง)แผนฯระดับล่างต้องสอดรับแผนฯระดับเหนือกว่าเสมอ) เป้าประสงค์(ทิศทาง)รวม/ประเทศ แผนชาติ เป้าประสงค์แผน/ยุทธ์ ประเทศ เป้าประสงค์กระทรวง แผนกระทรวง เป้าประสงค์/ยุทธ์ กระทรวง เป้าประสงค์กรม/จังหวัด แผนเฉพาะกิจฯ (ปฎิรูปองค์กรภาครัฐ) แผนกรม/จังหวัด เป้าประสงค์/ยุทธ์ กรมฯ เป้าประสงค์ท้องถิ่น ผังภาค/ผังเมือง แผนท้องถิ่น/ชุมชน ผังชุมชน/เขตป่าสงวน เป้าประสงค์-จุดหมาย ประชาคม ประชาคม การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กันยายน/2543
ด้านศาสตร์ ด้านศิลป์ ด้านประสบการณ์ องค์ประกอบหลักการยกร่างแผน ด้านศาสตร์ ด้านศิลป์ เทคนิคการวางแผนฯ การติดตามประเมินผล แผนฯ เทคนิคการมีส่วนร่วม เทคนิคการศึกษา วิเคราะห์ การคาดการณ์ จินตนาการ การเปรียบเทียบ จัดลำดับ แนวคิด หลักการ ทฤษฎี หลักการบริหาร จัดการ (ทั่วไป/เฉพาะ) แนวคิดริเริ่ม ความเห็น มุมมองที่เกี่ยวข้อง แนวนโยบาย(ที่เกี่ยวข้อง) ด้านประสบการณ์ ภูมิปัญญาองค์ความรู้ บุคลากร/องค์กร ความรู้ ความชำนาญ ความเข้าใจการเมืองร่วมกัน ปรีชาญาณ อุทิศ 2549
การวางแผนกลยุทธ์ ดีที่สุด ดีกว่าเดิม ขออยู่รอด ติดตาม การประเมิน 2 1 3 กำหนดทิศทาง พัฒนาองค์กร ด้าน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก การยกร่าง และกำหนด ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) การ พัฒนา ปรับยุทธการ ดำเนินการ ด้านกลไก และ ติดตาม การประเมิน กำหนด ยุทธวิธี (กลวิธี) การ ดำเนินงาน การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม ภายนอก และ ภายใน 2 1 3 4 5 1 2 3 4 5 แผนกลยุทธ์ เพื่อ พัฒนาให้เป็นคู่แข่งที่ดีที่สุด ดีที่สุด 1 3 2 4 5 แผนกลยุทธ์ เพื่อ พัฒนาให้อยู่ได้ดีที่สุดตามศักยภาพแวดล้อม ดีกว่าเดิม แผนกลยุทธ์ เพื่อ พัฒนาตามสภาวะแวดล้อมให้อยู่รอด ขออยู่รอด การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/เม.ย/2547
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ความสัมพันธ์ การกำหนด แผนกลยุทธ์ SWOT ดัชนี วัตถุประสงค์ (ผลลัพธ์) พันธกิจสมมุติ เป้าประสงค์ ภาพอนาคต มิติด้านสาธารณะ “ผลงานคุ้มในสายตาสาธารณะ” มิติด้านกลุ่มเป้าหมาย “ผลงานที่กลุ่มเป้าหมายได้” มิติด้านการจัดการ(ภายใน) “การบริหารแลระบบการทำงานที่ดี” มิติด้านการแข่งขันอยู่รอด “การเรียนรู้และการปรับสมรรถนะ” เป้าประสงค์ : พันธกิจ ยุทธศาสตร์ B S C . & Dev. Process โครงการเชิงยุทธ์ รองรับยุทธศาสตร์แผนงานขององค์กร สอดรับวัตถุประสงค์แผนฯโดยตรง แนวทางดำเนินการใหม่สู่ผลสัมฤทธิ์การพัฒนาที่ดีกว่า ทั้งระยะ สั้น-ยาว ขยายการพัฒนาให้ อยู่รอด แข่งขันได้ Strategy Map ประสบการณ์ ร่างแผนงาน แผน ยุทธ์ โครงการประจำ เป็นงานตามบทบาทหน่วย ตามระบียบ อาจสนองความต้องการที่ยังมีอยู่สูง อาจแก้ไขปัญหาสำคัญที่ต่อเนื่อง เปลี่ยนแปลงแต่ไม่พัฒนา องค์ประกอบโครงการเชิงยุทธ์/เบื่องต้น ดัชนี ผลผลิต รายละเอียด แผนงาน-โครงการเชิงยุทธ์ ขั้นปฏิบัติการ แผน ปฏิบัติ รายละเอียด แผนงาน-โครงการประจำ ขั้นปฏิบัติการ อุทิศ พ.ค. ‘48
ตารางแผนงานการยกร่างแผนกลยุทธ์ เวลา ภาระกิจการวางแผน หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 1 การเตรียมงานวางแผน และรวบรวมการวิเคราะห์เบื่องต้น วันที่ 22 ม.ค.2546 ; บรรยายเบื่องต้น 2 กำหนดพันธกิจสมมุติ (กรอบชี้นำการวิเคราะห์ SWOT ) 29 ม.ค. ; ตรวจร่างและบรรยายการวิเคราะห์ SWOT 3 การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม SWOT Analysis 5 ก.พ. ; ตรวจร่าง SWOT และ แนะการจัดลำดับฯ 4 ร่างลำดับความสำคัญ SWOT และจินตนาการภาพอนาคต 12 ก.พ. ; ตรวจร่างการจัดลำดับฯและแนะร่างเป้าฯ 5 กำหนดร่างเป้าประสงค์(วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก) 19 ก.พ. ; ตรวจร่างเป้าฯและตกลงแนวการสัมนาฯ 6 การสัมนา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 27 ก.พ. ; พิจารณา SWOT และเป้าประสงค์ 7 การปรับร่าง เป้าประสงค์ และ กำหนดดัชนีเบื่องต้น ก.พ.. ; บรรยายการกำหนดกลยุทธ์-กลวิธี 8 ยกร่าง ยุทธศาสตร์-ยุทธวิธี (Strategy/Project idea) มี.ค-.เม.ย. ; ประสานการกำหนดกลยุทธ์-กลวิธี 9 การสัมนา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 15 เม.ย ; พิจารณา กลยุทธ์-กลวิธี 10 การปรับร่าง ยุทธศาสตรื-ยุทธวิธี และ ผัง-แผนที่เชิงยุทธ์ (ผังความสัมพันธ์ยุทธศาสตร์ระดับแผนงาน) 11 การยกร่าง แผนงาน/โครงการ โดยหน่วยงานรับผิดชอบ 16 พ.ค.; บรรยาย การปรับองค์กร-กลไก แผนกลยุทธ์วิทยาลัยแพทย์พระมงกุฏฯ อุทิศ ม.ค.46
ตารางแผนงานการยกร่างแผนกลยุทธ์ (ต่อ) เวลา ภาระกิจการวางแผน หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 12 ยกร่าง กลไก และ ระเบียบ และ วัฒนธรรมองค์กร 13 การกำหนดกระบวนการจัดการและร่างโครงสร้างการบริหาร 14 กำหนดดัชนี การติดตาม-ประเมินผล 15 การตรวจสอบความสอดคล้องแผนงาน-โครงการและแผนฯ 16 การสัมนา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 17 ปรับแผนกลยุทธ์ และผังความสัมพันธ์ยุทธศาสตร์ทุกระดับ 18 การพิจารณาและอนุมัติแผนฯ และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 19 การศึกษาวิจัย ประกอบการวางแผน และ การชี้นำการปฏิบัติ ม.ค. กำหนด TOR 20 การร่างแผนปฏิบัติการ และ การใช้ประโยชน์แผนฯ 21 การติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผนฯ 22 การปรับปรุงการชี้นำของแผนฯอย่างต่อเนื่อง แผนกลยุทธ์วิทยาลัยแพทย์พระมงกุฏฯ อุทิศ ม.ค.46
เริ่มที่การกำหนด “กรอบชี้นำ” การวิเคราะห์ และการวิเคราะห์ การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม SWOT เริ่มที่การกำหนด “กรอบชี้นำ” การวิเคราะห์ พันธกิจสมมุติ ; 3-5 ปีข้างหน้า และการวิเคราะห์ ตัวแปรที่มีอิทธิพล ผลสำเร็จ ความล้มเหลว (มีคุณสมบัติและบทบาทที่เหนือกว่าได้เปรียบเสียเปรียบมากกว่า) อุทิศ สค. 2545
สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์SWOT กำหนด กรอบการวิเคราะห์ SWOT (อะไร แค่ไหน เพียงไร อย่างไร ;เป็นพันธกิจสมมุติ ;เป็นภาระกิจหลักองค์กรช่วงปัจจุบัน,Organization Profile) ดึงประเด็นย่อยที่ สำคัญจาก พันธกิจสมมุติ อันเป็นการแยกภารกิจหลัก แต่ละด้าน (พิจารณาสถานการณ์เด่น(หากมี) ที่นำไปสู่การหาตัวแปรและบทบาทตัวแปร วิเคราะห์และกำหนดตัวแปร ที่มีบทบาทหลัก ทั้งจากสถานการณ์เด่นที่เกี่ยวข้องและ จากประเด็นย่อยของพันธกิจสมมุติโดยตรงได้ วิเคราะห์ ตัวแปรและบทบาทตัวแปลที่สำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จและ ความล้มเหลวของพันธกิจสมมุติ สรุปสภาวะแวดล้อม (เป็น โอกาส ภาวะคุกคาม จุดอ่อน จุดแข็ง) ที่สำคัญจากการผนวกตัวแปรและบทบาทตัวแปรที่กำหนดแล้วจากขั้นตอนที่ 3 และ4 คัดเลือกและรวบรวมสภาวะแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จและหรือความล้มเหลวขององค์กร ทำเป็นตารางสรุปผลการวิเคราะห์SWOT เพื่อให้คะแนนในการจัดลำดับความสำคัญSWOTต่อไป อุทิศ พย. 52
(สาเหตุ ขั้นตอน ผล ฯลฯ) ผังสรุปกระบวนการจินตนาการอนาคต Guided questions What should be happened? What could be happened? What shauld be done? What could be done? What..level of achivement? ขอบข่ายงาน (สาเหตุ ขั้นตอน ผล ฯลฯ) (อทิ ด้านปปช.) สภาวะแวดล้อม ที่นำไปสู่อนาคต ที่คาดได้ (แนวโน้ม) S O x SWOT หลัก รอง สภาวะแวดล้อม ที่นำไปสู่อนาคต ที่คาดยาก (ผลิกผัน) ปัจจัย-ข้อคำนึง เพื่อ คาดการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีในอนาคต Best practice:อนาคต เจตนา:อนาคต ฯลฯ W T x ประเด็นชี้นำอนาคต อนาคตจาก Areas Of Concern & Annalitical SWOT อุทิศ กค.2007
ขั้นตอนการกำหนดเป้าประสงค์ ภาพหมาย วิสัยทัศน์ ภาพ S O O SWOT เงื่อนไขที่ต้องทำ พันธ์กิจ W S ภาพอนาคตจาก T เรื่องที่ต้องบรรลุ (ความต้องการสาธารณะ) วัตถุประสงค์หลัก ภาพ W T แค่ไหน ? KPI
? การจินตนาการภาพอนาคต คำถามชี้นำหลัก การจินตนาการภาพอนาคต (ภาพอนาคตรวมจาก SWOT และ พันธกิจสมมุติ) 1. ภารกิจหลักที่สามารถพัฒนาจากทั้งโอกาสและจุดแข็ง จะมีแนวโน้มหรือ ผลิกผันเป็น อะไร แค่ไหน ต้องทำอย่างไร ได้ดีที่สุด 2. ภารกิจหลักที่มีทั้งภาวะคุกคามและจุดอ่อนจะสามารถปรับปรุงแก้ไข จะมีแนวโน้มหรือ ผลิกผันเป็น อะไร แค่ไหน ต้องทำอย่างไร ได้ดีกว่าเดิม 3. ภารกิจหลักที่ควรมีเพิ่มเติมในอนาคตจากSWOTใหม่ๆมีอะไร แค่ไหน 4. ผลกระทบ-ผลลัพธ์ใหม่ๆจะมีอะไร แค่ไหน ต้องทำอย่างไร เพียงไร 5. ผลกระทบผลลัพธ์ที่สามารถบรรลุได้ในช่วง 3-5 ปีแรกต่อกลุ่มเป้าหมาย จะมีด้านใด แค่ไหน เพียงไร การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/กย./2552
รายการตรวจสอบเป้าประสงค์(ทิศทาง) (เบื่องต้น) วิสัยทัศน์ เป็นการระบุ “สถานะภาพหมายที่มีFOCUSและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง-ประชาคมปรารถนาที่สมเหตุสมผล”หรือไม่ เป็นการระบุ “สิ่งท้าทายที่ชี้นำให้เห็นถึงระดับการพัฒนาที่องค์กรมุ่งมั่นจะทำที่ชัดและจะเกิดในอนาคต(10-15)”หรือไม่ เป็นการระบุ “สิ่งที่ฉายให้เห็นว่าอนาคตประชาชนและสังคมสาธารณะจะได้ประโยชน์อะไร”หรือไม่ พันธกิจ เป็นการระบุ “เงื่อนไขสำคัญยิ่งยวด(Al.commitments)ที่ต้องทำซึ่งองค์กรคงอยู่เพื่อทำเงื่อนไขนี้ให้ได้”หรือไม่ เป็นการระบุ “กิจธุระที่ต้องทำร่วมกันอย่างมีบูรณาการเพื่อจะบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนด”หรือไม่ เป็นการระบุ “กระบวนการสู่ผลสัมฤทธิ์ที่มีคุณค่าตามความต้องการของสาธารณะ (ลูกค้า/มีมูลค่าทางตลาด) เป็นการระบุ “บรรดาเทคนิกหรือพิธีการหลักที่องค์กรต้องเสริมสมรรถนะให้ ทำเป็นทำได้ ในอนาคต”หรือไม่ เป็นการระบุ “ค่านิยมหลักและหรือวัฒนธรรมองค์กรที่สำที่สุดที่จะช่วนผลักดันองค์ไปสู่วิสัยทัศน์”หรือไม่ วัตถุประสงค์หลักของแผน เป็นเกณท์ที่ต้องบรรลุ ที่นำไปสู่การกำหนดดัชนีเพื่อการประเมิณผลได้อย่างชัดเจน แค่ไหนเพียงไร เป็นเกณท์ที่ต้องบรรลุ ที่สท้อนข้อคำนึงหลักในการปฏิรูประบบราชการที่เน้นผลสัมฤทธิ์แค่ไหนเพียงไร ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลด้านการเงิน การสนองความต้องการประชาชน สมรรถนะการบริหารจัดการที่ดี สมรรถนะการอยู่รอดและแข่งขันได้ เป็นการระบุ เป้าหมาย/ผลลัพธ์(End)หรือเพียงระบุวิถีทาง(Mean)ไปสู่เป้าหมาย/ผลลัพธ์ที่ต้องการหรือไม่ เป็นการระบุ ให้เห็นผลกระทบของการใช้แผน ที่ก่อให้เกิดการพัฒนา(ด้านต่างๆ)ที่ดีกว่าปัจจุบันหรือไม่ BSC การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ธค./2546
ช่วงสั้น ช่วง สั้น-ยาว กำหนดยุทธศาสตร์ทางเลือก ในกรณีที่มีปัจจัยนำชัดเจน ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหา4รูปแบบขององค์กร(มียุทธศาสตร์หลักและข้อคำนึงที่เกี่ยวข้อง) เสริมและใช้ โอกาส-จุดแข็ง (รุกมากกว่ารับ) VENTURE PatternPreactive orientation (p - p - f +) PARLAY Pattern Inactive Orientation (p- p+ f-) QUEST PatternInteractive Orientation (p+ p+ f+) SAGA PatternReactive Orientation(p+ p- f-) โอกาส ข้อจำกัด จุดอ่อน จุดแข็ง (ยุทธศาสตร์ประเภท ลองเสี่ยง-ปรับปรุง) (ยุทธศาสตร์ประเภท ลุย-เร่งขยาย) นำด้วย O W(S T อาจเป็นข้อคำนึง) นำด้วย O S (W T อาจเป็นข้อคำนึง) ยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสม เป้าประสงค์ แก้ไขและป้องกัน จุดอ่อน-อุปสรรค (รับมากกว่ารุก) (ยุทธศาสตร์ประเภท ลด เลิก โอนย้าย) (ยุทธศาสตร์ประเภท ไม่เสี่ยง-รักษาสภาพ) นำด้วย W T(W T อาจเป็นข้อคำนึง) นำด้วย W S (W O อาจเป็นข้อคำนึง) ช่วงสั้น ช่วง สั้น-ยาว ยุทธ/แผนงานที่น่าจะเป็น “องค์กรอาจต้องมีแนวทางและทางเลือกแก้ไขปัญหาหลายด้าน/ต้องพิจารณาหาลำดับความสำคัญแนวทางเลือก” (บันทึกจากประสบการณ์บรรยายที่มหาวิทยาลัยเกษตร อาจารย์ประจำวิชา วางแผนยุทธศาสตร์เมือง ) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กันยายน/2542
การกำหนดกลยุทธ์การพัฒนา O W T S ยุทธศาสตร์&ยุทธวิธี สภาวะใหม่ ความคิดใหม่ หรือ แผนงาน-โครงการ ประสพการณ์& ความชำนาญ การเรียนรู้ ความคิดริเริ่ม-ทางเลือก หลักการ-ทฤษฎี BSC นโยบาย&การเมือง การวางแผนกลยุทธ อุทิศ/ธ.คม/2544
การตรวจสอบ ประเมินความเหมาะสมของยุทธศาสตร์ การยอมรับของสาธารณะ ภาระด้านการเงินประหยัด-คุ้มค่า (ใช้ จุดแข็งและโอกาส ที่มีอยู่หรือที่ต้องจัดซื้อหา) ประสิทธิ์ภาพ ประสิทธิ์ผล ของการใช้ทรัพยากรการจัดการด้านต่างๆ ได้อะไร ผลกระทบระยะสั้นหรือระยะยาว ผลกระทบเชิงบวกหรือลบต่อใครอย่างไร ผลกระทบตรงเป้า กลุ่มเป้าหมาย เพียงไร เงื่อนไขด้านบุคลากรภายนอก ภายใน มีอยู่หรือต้องสรรหา มีความสอดรับกับพันธกิจของแผนกลยุทธ์เพียงไร มีความสอดรับระหว่างยุทธ์ศาสตร์อื่นของแผนเพียงไร ความอ่อนตัวของยุทธศาสตร์ภายใต้สถานะการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้ มีมากน้อยเพียงไร ถูกกาละเทศะเพียงไร ต้องทดลอง นำร่องหรือไม่ การประสานงาน ความขัดแย้ง ของกลไกที่เกี่ยวข้อง เป็นไปได้เพียงไรอย่างไร ฯลฯ Source; Strategic Planning; edited; John M Brason & Robert C Einsweiler 1988 pg.179
การกำหนด แผนงาน โครงการ
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ความสัมพันธ์ การกำหนด แผนงาน โครงการเชิงยุทธ์ SWOT ดัชนี วัตถุประสงค์ (ผลลัพธ์) พันธกิจสมมุติ เป้าประสงค์ ภาพอนาคต มิติด้านสาธารณะ “ผลงานคุ้มในสายตาสาธารณะ” มิติด้านกลุ่มเป้าหมาย “ผลงานที่กลุ่มเป้าหมายได้” มิติด้านการจัดการ(ภายใน) “การบริหารแลระบบการทำงานที่ดี” มิติด้านการแข่งขันอยู่รอด “การเรียนรู้และการปรับสมรรถนะ” เป้าประสงค์ : พันธกิจ ยุทธศาสตร์ B S C . & Dev. Process โครงการเชิงยุทธ์ รองรับยุทธศาสตร์แผนงานขององค์กร สอดรับวัตถุประสงค์แผนฯโดยตรง แนวทางดำเนินการใหม่สู่ผลสัมฤทธิ์การพัฒนาที่ดีกว่า ทั้งระยะ สั้น-ยาว ขยายการพัฒนาให้ อยู่รอด แข่งขันได้ Strategy Map ประสบการณ์ ร่างแผนงาน แผน ยุทธ์ โครงการประจำ เป็นงานตามบทบาทหน่วย ตามระบียบ อาจสนองความต้องการที่ยังมีอยู่สูง อาจแก้ไขปัญหาสำคัญที่ต่อเนื่อง เปลี่ยนแปลงแต่ไม่พัฒนา องค์ประกอบโครงการเชิงยุทธ์/เบื่องต้น (1-3ปีแรก) ดัชนี ผลผลิต รายละเอียด แผนงาน-โครงการเชิงยุทธ์ ขั้นปฏิบัติการ แผน ปฏิบัติ รายละเอียด แผนงาน-โครงการประจำ ขั้นปฏิบัติการ อุทิศ พ.ค. ‘48
เค้าโครง ร่าง Project ideas 1. ชื่อโครงการ (ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ) 2. วัตถุประสงค์โครงการ (วัตถุประสงค์เชิงยุทธ์ Strategic Output) 3. ผู้รับผิดชอบ 4. กิจกรรม (ตามขั้นตอนการดำเนินงานหลัก) 5. เวลาการดำเนินงาน 6. ประมาณการงบประมาณ 7. เหตุผล(เชิงยุทธ์) อื่นๆ (ความสำคัญโครงการ ความคาดหวัง ฯลฯ) แผนกลยุทธ์ อุทิศ/ส.ค./2547
(ร่างที่ 1 ; ยกร่างโดยคณะทำงานยกร่างแผน) A1.ยุทธศาสตร์ขยายบริการทางการแพทย์ให้ครบวงจร (ร่างที่ 1 ; ยกร่างโดยคณะทำงานยกร่างแผน) แผนฯกาชาด S1 เป็นองค์กรการกุศลแห่งเดียวที่มีหน่วยแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา A S6 เป็นองค์กรแห่งเดียวในประเทศที่มีการดำเนินงานด้านโรคเอดส์อย่างครบวงจร A S7 เป็นสภากาชาดเพียงแห่งเดียวที่มีโรงพยาบาล สามารถดำเนินการอย่างครบวงจร B S10 มีความสัมพันธ์และการสนับสนุนทรัพยากร การบริหารกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย B S14 เป็นองค์กรด้านสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการหรือประสานงานเพื่อพัฒนาความรู้ ด้านวิชาการ B O2 ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยี เป็นโอกาสในการพัฒนาการบริการ ให้ทันสมัยได้ A O6 องค์กรนานาชาติให้การสนับสนุนด้านการวิจัยทางโรคเอดส์ B O14 ประชาชนมีความรู้มากขึ้นและ แสวงหาบริการทางสุขภาพและความรู้ที่เชื่อถือได้มากขึ้น C O23 นโยบายการเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพในเอเซีย D สาระทางยุทธศาสตร์ SO “ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาโรงพยาบาลของสภากาชาดไทยสู่ความเป็นเลิศทางด้านการบริการทางแพทย์ที่หลากหลาย เป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ในระดับภูมิภาคที่มีมาตรฐานสากล โดยจัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา พัฒนาความพร้อมทางกายภาพและเทคโนโลยี ผลิตงานวิจัย และบริการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณภาพสูงและมีความน่าเชื่อถือสู่สาธารณะ เป็นที่ยอมรับระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการพัฒนาด้านงานวิจัยโรคเอดส์อ้างอิงทางวิชาการระดับนานาชาติได้” วัตถุประสงค์ข้อที่ 1. พัฒนาการบริหารด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ครบวงจรและมีคุณภาพทางวิชาการและเทคโนโลยีระดับมาตรฐานสากล A = 33.3% B= 44.4% C= 11.1% D= 11.1% 2 มี.ค. 2547
(ร่างที่ 2 ; ปรับร่างโดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ) B1.ยุทธศาสตร์ขยายบริการทางการแพทย์ให้ครบวงจร (ปรับ ส.ค.) แผนฯกาชาด (ร่างที่ 2 ; ปรับร่างโดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ) S1 เป็นองค์กรการกุศลแห่งเดียวที่มีหน่วยแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา A S6 เป็นองค์กรแห่งเดียวในประเทศที่มีการดำเนินงานด้านโรคเอดส์อย่างครบวงจร A S7 เป็นสภากาชาดเพียงแห่งเดียวที่มีโรงพยาบาล สามารถดำเนินการอย่างครบวงจร B S10 มีความสัมพันธ์และการสนับสนุนทรัพยากร การบริหารกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย B S14 เป็นองค์กรด้านสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการหรือประสานงานเพื่อพัฒนาความรู้ ด้านวิชาการ B O2 ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยี เป็นโอกาสในการพัฒนาการบริการ ให้ทันสมัยได้ A O6 องค์กรนานาชาติให้การสนับสนุนด้านการวิจัยทางโรคเอดส์ B O14 ประชาชนมีความรู้มากขึ้นและ แสวงหาบริการทางสุขภาพและความรู้ที่เชื่อถือได้มากขึ้น C O23 นโยบายการเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพในเอเซีย D สาระทางยุทธศาสตร์ SO “ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาโรงพยาบาลของสภากาชาดไทยสู่ความเป็นเลิศทางด้านการบริการทางแพทย์ที่หลากหลาย เป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ในระดับภูมิภาคที่มีมาตรฐานสากล โดยจัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา พัฒนาความพร้อมทางกายภาพและเทคโนโลยี ผลิตงานวิจัย และบริการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณภาพสูงและมีความน่าเชื่อถือสู่สาธารณะ เป็นที่ยอมรับระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการพัฒนาด้านงานวิจัยถึงระดับที่ใช้อ้างอิงทางวิชาการระดับนานาชาติได้” วัตถุประสงค์ข้อที่ 1. พัฒนาการบริหารด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ครบวงจรและมีคุณภาพทางวิชาการและเทคโนโลยีระดับมาตรฐานสากล A = 33.3% B= 44.4% C= 11.1% D= 11.1% ส.ค. 2547
ตารางงาน กำหนด ยุทธศาสตร์ และ แผนงานเชิงยุทธ์ B1. ยุทธศาสตร์ขยายบริการทางการแพทย์ให้ครบวงจร (ร่างที่ 3 ; โดยการหารือหน่วยงานหลัก) ยุทธศาสตร์ ( สาระ ) ประเด็นชี้นำการปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องของยุทธศาสตร์ แผนงาน ของยุทธศาสตร ประเด็นชี้นำจาก SWOT (A) (B) (C) (D) S1 เป็นองค์กรการกุศลแห่งเดียวที่มีหน่วยแพทย์เฉพาะทางครบ ทุกสาขา A S6 เป็นองค์กรแห่งเดียวในประเทศที่มีการดำเนินงานด้านโรคเอดส์ อย่างครบวงจร A S7 เป็นสภากาชาดเพียงแห่งเดียวที่มีโรงพยาบาล สามารถดำเนิน การอย่างครบวงจร B S10 มีความสัมพันธ์และการสนับสนุนทรัพยากร การบริหารกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย B S14 เป็นองค์กรด้านสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการหรือประสาน งานเพื่อพัฒนาความรู้ด้านวิชาการ B ยุทธศาสตร์ SO “ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา โรงพยาบาลของสภากาชาดไทยสู่ ความเป็นเลิศทางด้านการบริการ ทางแพทย์ที่หลากหลาย เป็นศูนย์ กลางทางการแพทย์ในระดับภูมิภาค ที่มีมาตรฐานสากล โดยจัดตั้ง ศูนย์ความเชี่ยวชาญเฉพาะ สาขา พัฒนาความพร้อมทางกาย ภาพและเทคโนโลยี ผลิตงานวิจัย และบริการทางวิทยาศาสตร์การ แพทย์ที่มีคุณภาพสูงและมี ความน่าเชื่อถือสู่สาธารณะ เป็น ที่ยอมรับระดับสากลตลอดจนส่ง เสริมให้มีการพัฒนาด้านงานวิจัย ถึงระดับที่ใช้อ้างอิงทางวิชาการ ระดับนานาชาติได้” แผนงานพัฒนา ความเป็นเลิศ การบริการ ความพร้อมทาง วิทยาศาสตร์การ แพทย์ ศูนย์ความเชี่ยว ชาญระดับสากล “การบริการครบวงจร” (4/5/6/7) (r1) (C1) (C2) “มาตรฐานสากล” 14(1) “ศูนย์ความเชี่ยวชาญ วิจัย” 14(1) O2 ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยี เป็นโอกาสในการ พัฒนาการบริการให้ทันสมัยได้ A O6 องค์กรนานาชาติให้การสนับสนุนด้านการวิจัยทางโรค เอดส์ B O14 ประชาชนมีความรู้มากขึ้นและ แสวงหาบริการทางสุขภาพและ ความรู้ที่เชื่อถือได้มากขึ้น C O23 นโยบายการเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพในเอเซีย D (9/-12) (a1) (e2) วัตถุประสงค์ข้อที่ 1. พัฒนาการบริหารด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ครบวงจรและมีคุณภาพทางวิชาการและเทคโน โลยีระดับมาตรฐานสากล A = 33.3% B= 44.4% C= 11.1% D= 11.1% (A) เป็นประเด็นชี้นำที่ดึงมาจากผลการวิเคราะห์ SWOT ที่มีลำดับควาสำคัญสูง เพื่อใช้ชี้แนะและกำหนดกรอบชี้นำการปฏิบัติหรือยุทธศาสตร์ของแผน (ลำดับความสำคัญยุทธศาสตร์จะถูกกำหนดจาก%ของประเด็นแต่ละระดับ) (B) กำหนดจากสาระชี้นำ(A)และผนวกกับข้อคำนึงด้าน นวตกรรม หลักวิชาการ หลักบริหาร การเมือง และประสบการณ์เป็นกรอบชี้นำการปฏิบัติให้บรรลุเป้าประสงค์(วัตถุประสงค์หลักของแผน พันธกิจ วิสัยทัศน์) (C) เป็นประเด็น(C1)ที่กำหนดเพื่อชี้นำไปสู่การปฏิบัติได้จาก (B)ยุทธศาสตร์ที่กำหนด ที่เทียบกับข้อเสนอ((C2); แผนงาน โครงการที่ผู้บริหารแต่ละด้านเสนอมาอย่างสอดรับกับแนวคิดและหลักการด้านการบริหาร) และคณะทำงานพิจารณาว่ามีนัยยะสำคัญเชิงยุทธ์ (ที่มีผลสัมฤทธิ์เกิดการพัฒนา) (D) กำหนดโดยแปลง(C)ให้เป็นแผนงานที่นำไปสู่ผลสัมฤทธ์ เป็นแผนงานเชิงยุทธ์ตามเหตุผลเชิงวิชาการและประสพการณ์การบริหารจัดการของสาขานั้นๆ Work sheet; แผนกลยุทธ์ อุทิศ สค. /2547
(ร่างที่ 3 ; โดยการหารือหน่วยงานหลัก) ตารางงาน กำหนดโครงการเชิงยุทธ์ B1. ยุทธศาสตร์ขยายบริการทางการแพทย์ให้ครบวงจร(ต่อ) (ร่างที่ 3 ; โดยการหารือหน่วยงานหลัก) แผนงาน ของยุทธศาสตร (D) แนวทางปฏิบัติ ของแต่ละแผนงาน (E) โครงการเชิงยุทธ์ ของแต่ละแผนงาน (F) ดัชนีผลสัมฤทธ์ โครงการ(Output) วัตถุประสงค์หลักแผน (Outcome) (F2) (F1) แผนงานพัฒนา ความเป็นเลิศ การบริการ ความพร้อมทาง วิทยาศาสตร์การ แพทย์ ศูนย์ความเชี่ยว ชาญระดับสากล แผนงานพัฒนาความเป็นเลิศฯ การพัฒนาศูนย์การแพทย์ระดับสากล (Medical Hup) โครงการ การพัฒนาบริการและยกระดับความสามารถ ทางการแพทย์ ฯลฯ ฯลฯ แผนงานพัฒนาความพร้อมฯ โครงการ การพัฒนาผลิตภัณท์ชีววัตถุ การเร่งขยายความพอเพียงด้านอวัยวะทดแทน ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ แผนงานพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญฯ การวิจัยทางด้านโรคติดต่อที่กระทบสังคม รุนแรง โครงการ การวิจัยพิษจากสัตว์ การวิจัยเพื่อความเป็นเลิศด้านการแพทย์ ฯลฯ ฯลฯ (D) กำหนดโดยแปลง(C)ให้เป็นแผนงานที่นำไปสู่ผลสัมฤทธ์ เป็นแผนงานเชิงยุทธ์ตามเหตุผลเชิงวิชาการและประสพการณ์การบริหารจัดการของสาขานั้นๆ (E) กำหนดโดยแปลง (D) เป็นแนวทางปฏิบัติของแผนงานฯและโครงการเชิงยุทธ์ที่มีผลสัมฤทธิ์ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาต่อองค์กรทำให้องค์กรอยู่รอดและแข่งขันได้ (F) กำหนดจากวัตถุประสงค์โครงการ (E) ที่มีผลลัพธ์รวมตามวัตถุประสงค์หลักของแผนฯข้อต่างๆ (F1) คือวัคถุประสงค์หลักของโครงการฯ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ(Outputs)ภายใต้ยุทธ์ศาสตร์เดียวกันควรประสานสัมพันธ์และรวมได้เป็นวัตถุประสงค์หลักของแผน(Outcomes)ที่ยุทธศาสตร์นั้นๆรองรับ (F2) คือวัคถุประสงค์หลักของแผนฯ Work sheet; แผนกลยุทธ์ อุทิศ สค. /2547
(ร่างที่1; ผนวกยุทธศาสตร์ ยกร่างโดยคณะทำงานยกร่างแผน) A5.ยุทธศาสตร์องค์กรนำการผลิตบุคคลากรวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ (ร่างที่1; ผนวกยุทธศาสตร์ ยกร่างโดยคณะทำงานยกร่างแผน) O2 ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยีเป็นโอกาสในการพัฒนาการบริการ ให้ทันสมัยได้ A O14 ประชาชนมีความรู้มากขึ้นและแสวงหาบริการทางสุขภาพและความรู้ที่เชื่อถือได้ มากขึ้น C O15 การระบาดของโรคที่เคยควบคุมได้และการเกิดโรคใหม่เป็นไปได้สูง กาชาดต้องสร้างความพร้อม C O20 ความต้องการปฐมพยาบาลจากการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง D O21 การปฏิรูประบบสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการทำให้มีความต้องการพยาบาล วิชาชีพเพิ่มขึ้น D O26 การศึกษาต่อเนื่องในสายวิชาชีพการพยาบาล ทำให้เกิดความต้องการฝึกอบรม D S1 เป็นองค์กรการกุศลแห่งเดียวที่มีหน่วยแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา A S2 รัฐให้การสนับสนุนด้านงบประมาณอย่างต่อเนื่อง A S7 เป็นสภากาชาดเพียงแห่งเดียวที่มีโรงพยาบาลสามารถดำเนินการอย่างครบวงจร B S10 มีความสัมพันธ์และการสนับสนุนทรัพยากรการบริหารกับจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย B S14 เป็นองค์กรด้านสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการหรือประสานงานเพื่อพัฒนาความรู้ ด้านวิชาการ B สาระทางยุทธศาสตร์ SO “สร้างความเป็นผู้นำในการผลิตพยาบาลและบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการฝึกอบรมบุคลากรทางสาธารณสุขในด้านวิชาการที่ทันสมัย สอดรับกับภารกิจการบริการทางการแพทย์ มีการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับความต้องการของสภากาชาดไทย สังคมและประเทศชาติและสร้างเครือข่ายการฝึกอบรมที่กว้างขวาง ทั้งในและต่างประเทศภายใต้การสนับสนุนด้านทรัพยากรที่มีอยู่ของสภากาชาดไทยและงบประมาณจากภาครัฐที่มีอย่างต่อเนื่อง” วัตถุประสงค์ที่ 5. พัฒนาการผลิตพยาบาลและบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณภาพและเพียงพอ A=27.27% B=27.27% C= 18.19% D=27.27% 2 มี.ค. 2547
(ร่างที่ 2 ; ปรับร่างโดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ) B5. ยุทธศาสตร์องค์กรนำการผลิตบุคลากรวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ (ปรับ สค.) แผนฯกาชาด (ร่างที่ 2 ; ปรับร่างโดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ) O2 ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยีเป็นโอกาสในการพัฒนาการบริการ ให้ทันสมัยได้ A O14 ประชาชนมีความรู้มากขึ้นและแสวงหาบริการทางสุขภาพและความรู้ที่เชื่อถือได้ มากขึ้น C O15 การระบาดของโรคที่เคยควบคุมได้และการเกิดโรคใหม่เป็นไปได้สูง กาชาดต้องสร้างความพร้อม C O20 ความต้องการปฐมพยาบาลจากการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง D O21 การปฏิรูประบบสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการทำให้มีความต้องการพยาบาล วิชาชีพเพิ่มขึ้น D O26 การศึกษาต่อเนื่องในสายวิชาชีพการพยาบาล ทำให้เกิดความต้องการฝึกอบรม D S1 เป็นองค์กรการกุศลแห่งเดียวที่มีหน่วยแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา A S2 รัฐให้การสนับสนุนด้านงบประมาณอย่างต่อเนื่อง A S7 เป็นสภากาชาดเพียงแห่งเดียวที่มีโรงพยาบาลสามารถดำเนินการอย่างครบวงจร B S10 มีความสัมพันธ์และการสนับสนุนทรัพยากรการบริหารกับจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย B S14 เป็นองค์กรด้านสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการหรือประสานงานเพื่อพัฒนาความรู้ ด้านวิชาการ B สาระทางยุทธศาสตร์ SO “สร้างความเป็นผู้นำในการผลิตพยาบาลและบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการฝึกอบรมบุคลากรทางสาธารณสุขในด้านวิชาการที่ทันสมัย สอดรับกับภารกิจการบริการทางการแพทย์ มีการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับความต้องการของสภากาชาดไทย สังคมและประเทศชาติและสร้างเครือข่ายการฝึกอบรมที่กว้างขวาง ทั้งในและต่างประเทศ ภายใต้การสนับสนุนด้านทรัพยากรที่มีอยู่ของสภากาชาดไทยและงบประมาณจากภาครัฐที่มีอย่างต่อเนื่อง” วัตถุประสงค์ที่ 5. พัฒนาการผลิตพยาบาลและบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณภาพและเพียงพอ A=27.27% B=27.27% C= 18.19% D=27.27% ส.ค. 2547
ตารางงาน กำหนด ยุทธศาสตร์ และ แผนงานเชิงยุทธ์ (ร่างที่ 3 ; โดยการหารือหน่วยงานหลัก) B5. ยุทธศาสตร์องค์กรนำการผลิตบุคลากรวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ (ปรับ สค.) ยุทธศาสตร์ ( สาระ ) ประเด็นชี้นำการปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องของยุทธศาสตร์ แผนงาน ของยุทธศาสตร ประเด็นชี้นำจาก SWOT (A) (B) (C) (D) S1 เป็นองค์กรการกุศลแห่งเดียวที่มีหน่วยแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา A S2 รัฐให้การสนับสนุนด้านงบประมาณอย่างต่อเนื่อง A S7 เป็นสภากาชาดเพียงแห่งเดียวที่มีโรงพยาบาลสามารถดำเนินการอย่างครบวงจร B S10 มีความสัมพันธ์และการสนับสนุนทรัพยากรการบริหารกับจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย B S14 เป็นองค์กรด้านสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการหรือประสานงานเพื่อพัฒนาความรู้ด้านวิชาการ B แผนงานผลิต แพทย์ พยาบาล และบุคลากรทาง วิทยาศาสตร์การ แพทย์ที่ทันสมัย แผนงานการสร้างและขยายเครือข่ายการฝึก อบรมเพื่อเสริมความหลากหลาย ยุทธศาสตร์ SO “สร้างความเป็นผู้นำในการผลิตพยาบาลและบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการฝึกอบรมบุคลากรทางสาธารณสุขในด้านวิชาการที่ทันสมัย สอดรับกับภารกิจการบริการทางการแพทย์ มีการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับความต้องการของสภากาชาดไทย สังคมและประเทศชาติและสร้างเครือข่ายการฝึกอบรมที่กว้างขวาง ทั้งในและต่างประเทศ ภายใต้การสนับสนุนด้านทรัพยากรที่มีอยู่ของสภากาชาดไทยและงบประมาณจากภาครัฐที่มีอย่างต่อเนื่อง” “ผลิตบุคลากร” O2 ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยีเป็นโอกาสในการพัฒนาการบริการให้ทันสมัยได้ A O14 ประชาชนมีความรู้มากขึ้นและแสวงหาบริการทางสุขภาพและความรู้ที่เชื่อถือได้มากขึ้น C O15 การระบาดของโรคที่เคยควบคุมได้และการเกิดโรคใหม่เป็นไปได้สูง กาชาดต้องสร้างความพร้อม C O20 ความต้องการปฐมพยาบาลจากการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง D O21 การปฏิรูประบบสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการทำให้มีความต้องการพยาบาลวิชาชีพเพิ่มขึ้น D O26 การศึกษาต่อเนื่องในสายวิชาชีพการพยาบาล ทำให้เกิดความต้องการฝึกอบรม D “ขยายเครือข่าย” วัตถุประสงค์ที่ 5. พัฒนาการผลิตพยาบาล และบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มี คุณภาพและเพียงพอ A=27.27% B=27.27% C= 18.19% D=27.27% (A) เป็นประเด็นชี้นำที่ดึงมาจากผลการวิเคราะห์ SWOT ที่มีลำดับควาสำคัญสูง เพื่อใช้ชี้แนะและกำหนดกรอบชี้นำการปฏิบัติหรือยุทธศาสตร์ของแผน (ลำดับความสำคัญยุทธศาสตร์จะถูกกำหนดจาก%ของประเด็นแต่ละระดับ) (B) กำหนดจากสาระชี้นำ(A)และผนวกกับข้อคำนึงด้าน นวตกรรม หลักวิชาการ หลักบริหาร การเมือง และประสบการณ์เป็นกรอบชี้นำการปฏิบัติให้บรรลุเป้าประสงค์(วัตถุประสงค์หลักของแผน พันธกิจ วิสัยทัศน์) (C) เป็นประเด็น(C1)ที่กำหนดเพื่อชี้นำไปสู่การปฏิบัติได้จาก (B)ยุทธศาสตร์ที่กำหนด ที่เทียบกับข้อเสนอ((C2); แผนงาน โครงการที่ผู้บริหารแต่ละด้านเสนอมา) และคณะทำงานพิจารณาว่ามีนัยยะสำคัญเชิงยุทธ์ (ที่มีผลสัมฤทธิ์เกิดการพัฒนา) (D) กำหนดโดยแปลง(C)ให้เป็นแผนงานที่นำไปสู่ผลสัมฤทธ์ เป็นแผนงานเชิงยุทธ์ตามเหตุผลเชิงวิชาการและประสพการณ์การบริหารจัดการของสาขานั้นๆ Work sheet; แผนกลยุทธ์ อุทิศ สค. /2547
(ร่างที่ 3 ; โดยการหารือหน่วยงานหลัก) ตารางงาน กำหนดโครงการเชิงยุทธ์ (ร่างที่ 3 ; โดยการหารือหน่วยงานหลัก) B5. ยุทธศาสตร์องค์กรนำการผลิตบุคลากรวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ (ปรับ สค.) แผนงาน ของยุทธศาสตร (D) แนวทางปฏิบัติ ของแต่ละแผนงาน (E) โครงการเชิงยุทธ์ ของแต่ละแผนงาน (F) ดัชนีผลสัมฤทธ์ โครงการ(Output) (F2) (F1) วัตถุประสงค์หลักแผน (Outcome) แผนงานผลิต แพทย์ พยาบาล และบุคลากรทาง วิทยาศาสตร์การ แพทย์ที่ทันสมัย แผนงานการสร้างและขยายเครือข่ายการฝึก อบรมเพื่อเสริมความหลากหลาย แผนงานผลิตแพทย์ พยาบาลฯ การวิจัยตลาดความต้องการบุคลากร ทางการแพทย์ โครงการ การพัฒนาหลักสูตรแพทย์และพยาบาล เฉพาะทาง ฯลฯ ฯลฯ แผนงานสร้างและขยายเครือข่ายฯ โครงการ การพัฒนาเครือข่ายการอบรมแพทย์ทางเลือก ฯลฯ การพัฒนาการแพทย์ตะวันออกแบบองค์รวม ฯลฯ ฯลฯ (D) กำหนดโดยแปลง(C)ให้เป็นแผนงานที่นำไปสู่ผลสัมฤทธ์ เป็นแผนงานเชิงยุทธ์ตามเหตุผลเชิงวิชาการและประสพการณ์การบริหารจัดการของสาขานั้นๆ (E) กำหนดโดยแปลง (D) เป็นแนวทางปฏิบัติของแผนงานฯและโครงการเชิงยุทธ์ที่มีผลสัมฤทธิ์ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาต่อองค์กรทำให้องค์กรอยู่รอดและแข่งขันได้ (F) กำหนดจากวัตถุประสงค์โครงการ (E) ที่มีผลลัพธ์รวมตามวัตถุประสงค์หลักของแผนฯข้อต่างๆ (F1) คือวัคถุประสงค์หลักของโครงการฯ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ(Outputs)ภายใต้ยุทธ์ศาสตร์เดียวกันควรประสานสัมพันธ์และรวมได้เป็นวัตถุประสงค์หลักของแผน(Outcomes)ที่ยุทธศาสตร์นั้นๆรองรับ (F2) คือวัคถุประสงค์หลักของแผนฯ Work sheet; แผนกลยุทธ์ อุทิศ สค. /2547
(ร่างที่ 4 ; โดยการพิจารณาของกรรมการบริหารฯ) การปรับและผนวกร่างยุทธศาสตร์ (1+5) D1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพการให้บริการและการผลิตบุคลากรของสภากาชาดไทย (ร่างที่ 4 ; โดยการพิจารณาของกรรมการบริหารฯ) แผนฯกาชาด S1 เป็นองค์กรการกุศลแห่งเดียวที่มีหน่วยแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา A S6 เป็นองค์กรแห่งเดียวในประเทศที่มีการดำเนินงานด้านโรคเอดส์อย่างครบวงจร A S2 รัฐให้การสนับสนุนด้านงบประมาณอย่างต่อเนื่อง A S7 เป็นสภากาชาดเพียงแห่งเดียวที่มีโรงพยาบาล สามารถดำเนินการอย่างครบวงจร B S10 มีความสัมพันธ์และการสนับสนุนทรัพยากร การบริหารกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย B S14 เป็นองค์กรด้านสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการหรือประสานงานเพื่อพัฒนาความรู้ด้านวิชาการ B O2 ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยี เป็นโอกาสในการพัฒนาการบริการ ให้ทันสมัยได้ A O6 องค์กรนานาชาติให้การสนับสนุนด้านการวิจัยทางโรคเอดส์ B O15 การระบาดของโรคที่เคยควบคุมได้และการเกิดโรคใหม่เป็นไปได้สูง กาชาดต้องสร้างความพร้อม C O20 ความต้องการปฐมพยาบาลจากการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้ อย่างต่อเนื่อง D O21 การปฏิรูประบบสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการทำให้มีความต้องการพยาบาล วิชาชีพเพิ่มขึ้น D O26 การศึกษาต่อเนื่องในสายวิชาชีพการพยาบาล ทำให้เกิดความต้องการฝึกอบรม D การแก้ไข ยุทธศาสตร์ขยายบริการทางการแพทย์ให้ครบวงจรและยุทธศาสตร์องค์กรนำการผลิตบุคลากรวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ เดิม วัตถุประสงค์ข้อที่ 1. พัฒนาการบริหารด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ครบวงจรและมีคุณภาพทางวิชาการและเทคโนโลยีระดับมาตรฐานสากล A = 33.3% B= 44.4% C= 11.1%ม D= 11.1% วัตถุประสงค์ที่ 5. พัฒนาการผลิตพยาบาลและบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณภาพและเพียงพอ A=27.27% B=27.27% C= 18.19% D=27.27% ผลการแก้ไข วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาศักยภาพการให้บริการและ การผลิตบุคลากรสู่มาตรฐานสากล A=33.33% B=33.33% C=8.33% D=25% ส.ค. 2547
(ร่างที่ 4 ; โดยการพิจารณาของกรรมการบริหารฯ) B1.ยุทธศาสตร์ขยายบริการทางการแพทย์ให้ครบวงจร (ปรับ ส.ค.) แผนฯกาชาด ยุทธศาสตร์ SO “ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาโรงพยาบาลของสภากาชาดไทยสู่ความเป็นเลิศทางด้านการบริการทางแพทย์ที่หลากหลาย เป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ในระดับภูมิภาคที่มีมาตรฐานสากล โดยจัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา พัฒนาความพร้อมทางกายภาพและเทคโนโลยี ผลิตงานวิจัย และบริการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณภาพสูงและมีความน่าเชื่อถือสู่สาธารณะ เป็นที่ยอมรับระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการพัฒนาด้านงานวิจัยถึงระดับที่ใช้อ้างอิงทางวิชาการระดับนานาชาติได้” วัตถุประสงค์ข้อที่ 1. พัฒนาการบริหารด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ครบวงจรและมีคุณภาพทางวิชาการและเทคโนโลยีระดับมาตรฐานสากล B5. ยุทธศาสตร์องค์กรนำการผลิตบุคลากรวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ (ปรับ สค.) ยุทธศาสตร์ SO“สร้างความเป็นผู้นำในการผลิตพยาบาลและบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการฝึกอบรมบุคลากรทางสาธารณสุขในด้านวิชาการที่ทันสมัย สอดรับกับภารกิจการบริการทางการแพทย์ มีการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับความต้องการของสภากาชาดไทย สังคมและประเทศชาติและสร้างเครือข่ายการฝึกอบรมที่กว้างขวาง ทั้งในและต่างประเทศ ภายใต้การสนับสนุนด้านทรัพยากรที่มีอยู่ของสภากาชาดไทยและงบประมาณจากภาครัฐที่มีอย่างต่อเนื่อง” วัตถุประสงค์ที่ 5. พัฒนาการผลิตพยาบาลและบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณภาพและเพียงพอ C1(A1&A5 เดิม) การพัฒนาศักยภาพการให้บริการทางการแพทย์และรักษาพยาบาลของหน่วยงานสภากาชาดไทย ให้อยู่ในมาตรฐานสากล และอยู่ในชั้นนำของภูมิภาค “ประกอบด้วย การพัฒนาคุณภาพของบุคลากรทางการแพทย์ พยาบาลและวิทยาศาสตร์การแพทย์ การพัฒนาเทคโนดลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ การพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์ การพัฒนาความชำนัญพิเศษเฉพาะทาง การพัฒนาด้านวิชาการและการพัฒนด้านงานวิจัย (หน่วยงานที่เกี่ยวช้อง ; โรงพยาบาล2แห่ง สถานเสาวภา ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ ศูนย์ชำนัญที่เกี่ยวข้อง) D1.สาระทางยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพการให้บริการและการผลิตบุคลากรของสภากาชาดไทย “เร่งการพัฒนาศักยภาพการให้บริการทางการแพทย์และรักษาพยาบาลของหน่วยงานสภากาชาดไทย ให้อยู่ในมาตรฐานสากลและครบวงจร โดยเป็นผู้นำและขยายเครือข่ายในการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ พยาบาล และวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ ควบคู่การพัฒนาด้านเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ งานวิจัยทางการแพทย์ ให้หลากหลายสามารถอ้างอิงทางวิชาการและอยู่ในชั้นนำของภูมิภาคนานาชาติ”
ตารางงาน กำหนด ยุทธศาสตร์ และ แผนงานเชิงยุทธ์ (ร่างที่ 5 ; โดยการหารือหน่วยงานหลัก) D1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพการให้บริการและการผลิตบุคลากรของสภากาชาดไทย ยุทธศาสตร์ ( สาระ ) แผนงาน ของยุทธศาสตร ประเด็นชี้นำจาก SWOT (A) (B) ประเด็นชี้นำการปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องของยุทธศาสตร์ (C) (D) S1 เป็นองค์กรการกุศลแห่งเดียวที่มีหน่วยแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา A S6 เป็นองค์กรแห่งเดียวในประเทศที่มีการดำเนินงานด้านโรคเอดส์อย่างครบวงจร A S2 รัฐให้การสนับสนุนด้านงบประมาณอย่างต่อเนื่อง A S7 เป็นสภากาชาดเพียงแห่งเดียวที่มีโรงพยาบาล สามารถดำเนินการอย่างครบวงจร B S10 มีความสัมพันธ์และการสนับสนุนทรัพยากร การบริหารกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย B S14 เป็นองค์กรด้านสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการหรือประสานงานเพื่อพัฒนาความรู้ด้านวิชาการ B แผนงานพัฒนาความเป็นเลิศการบริการ แผนงานพัฒนาความพร้อมทางวิทยาศาสตร์การ แพทย์ แผนงานพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสากล แผนงานการสร้างและขยายเครือข่ายการฝึก อบรมเพื่อเสริมความหลากหลาย แผนงานผลิตแพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ทันสมัย “เร่งการพัฒนาศักยภาพการให้บริการทางการแพทย์และรักษาพยาบาลของหน่วยงานสภากาชาดไทย ให้อยู่ในมาตรฐานสากลและครบวงจร โดยเป็นผู้นำและขยายเครือข่ายในการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ พยาบาล และวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ ควบคู่การพัฒนาด้านเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ งานวิจัยทางการแพทย์ ให้หลากหลายสามารถอ้างอิงทางวิชาการและอยู่ในชั้นนำของภูมิภาคนานาชาติ” “การบริการครบวงจร” “มาตรฐานสากล” “วิจัยทางการแพทย์” O2 ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยี เป็นโอกาสในการพัฒนาการบริการ ให้ทันสมัยได้ A O6 องค์กรนานาชาติให้การสนับสนุนด้านการวิจัยทางโรคเอดส์ B O15 การระบาดของโรคที่เคยควบคุมได้และการเกิดโรคใหม่เป็นไปได้สูง กาชาดต้องสร้างความพร้อม C O20 ความต้องการปฐมพยาบาลจากการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้ อย่างต่อเนื่อง D O21 การปฏิรูประบบสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการทำให้มีความต้องการพยาบาล วิชาชีพเพิ่มขึ้น D O26 การศึกษาต่อเนื่องในสายวิชาชีพการพยาบาล ทำให้เกิดความต้องการฝึกอบรม D “ผลิตบุคลากร” “ขยายเครือข่าย” วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาศักยภาพการให้บริการและการผลิตบุคลากรสู่มาตรฐานสากล A=33.33% B=33.33% C=8.33% D=25% (A) เป็นประเด็นชี้นำที่ดึงมาจากผลการวิเคราะห์ SWOT ที่มีลำดับควาสำคัญสูง เพื่อใช้ชี้แนะและกำหนดกรอบชี้นำการปฏิบัติหรือยุทธศาสตร์ของแผน (ลำดับความสำคัญยุทธศาสตร์จะถูกกำหนดจาก%ของประเด็นแต่ละระดับ) (B) กำหนดจากสาระชี้นำ(A)และผนวกกับข้อคำนึงด้าน นวตกรรม หลักวิชาการ หลักบริหาร การเมือง และประสบการณ์เป็นกรอบชี้นำการปฏิบัติให้บรรลุเป้าประสงค์(วัตถุประสงค์หลักของแผน พันธกิจ วิสัยทัศน์) (C) เป็นประเด็น(C1)ที่กำหนดเพื่อชี้นำไปสู่การปฏิบัติได้จาก (B)ยุทธศาสตร์ที่กำหนด ที่เทียบกับข้อเสนอ((C2); แผนงาน โครงการที่ผู้บริหารแต่ละด้านเสนอมา) และคณะทำงานพิจารณาว่ามีนัยยะสำคัญเชิงยุทธ์ (ที่มีผลสัมฤทธิ์เกิดการพัฒนา) (D) กำหนดโดยแปลง(C)ให้เป็นแผนงานที่นำไปสู่ผลสัมฤทธ์ เป็นแผนงานเชิงยุทธ์ตามเหตุผลเชิงวิชาการและประสพการณ์การบริหารจัดการของสาขานั้นๆ Work sheet; แผนกลยุทธ์ อุทิศ สค. /2547
(ร่างที่ 5 ; โดยการหารือหน่วยงานหลัก) ตารางงาน กำหนดโครงการเชิงยุทธ์ (ร่างที่ 5 ; โดยการหารือหน่วยงานหลัก) D1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพการให้บริการและการผลิตบุคลากรของสภากาชาดไทย แผนงาน ของยุทธศาสตร (D) แนวทางปฏิบัติ ของแต่ละแผนงาน (F) โครงการเชิงยุทธ์ ของแต่ละแผนงาน ดัชนีผลสัมฤทธ์ (E) โครงการ(Output) วัตถุประสงค์หลักแผน (Outcome) (F2) (F1) แผนงานพัฒนาความเป็นเลิศการบริการ แผนงานพัฒนาความพร้อมทางวิทยาศาสตร์การ แพทย์ แผนงานพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสากล แผนงานการสร้างและขยายเครือข่ายการฝึก อบรมเพื่อเสริมความหลากหลาย แผนงานผลิตแพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ทันสมัย แผนงานพัฒนาความเป็นเลิศฯ โครงการ การพัฒนาศูนย์การแพทย์ระดับสากล(Medical Hup) การพัฒนาบริการและยกระดับความสามารถทางการแพทย์ แผนงานพัฒนาความพร้อมฯ โครงการ การพัฒนาผลิตภัณท์ชีววัตถุ การเร่งขยายความพอเพียงด้านอวัยวะทดแทน แผนงานพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญฯ โครงการ การวิจัยทางด้านโรคติดต่อที่กระทบสังคมรุนแรง การวิจัยพิษจากสัตว์ การวิจัยเพื่อความเป็นเลิศด้านการแพทย์ แผนงานผลิตแพทย์ พยาบาลฯ ฯลฯ โครงการ การวิจัยตลาดความต้องการบุคลากรทางการแพทย์ การพัฒนาหลักสูตรแพทย์และพยาบาเฉพาะทาง แผนงานสร้างและขยายเครือข่ายฯ การพัฒนาเครือข่ายการอบรมแพทย์ทางเลือก โครงการ การพัฒนาการแพทย์ตะวันออกแบบองค์รวม (D) กำหนดโดยแปลง(C)ให้เป็นแผนงานที่นำไปสู่ผลสัมฤทธ์ เป็นแผนงานเชิงยุทธ์ตามเหตุผลเชิงวิชาการและประสพการณ์การบริหารจัดการของสาขานั้นๆ ฯลฯ (E) กำหนดโดยแปลง (D) เป็นแนวทางปฏิบัติของแผนงานฯและโครงการเชิงยุทธ์ที่มีผลสัมฤทธิ์ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาต่อองค์กรทำให้องค์กรอยู่รอดและแข่งขันได้ (F) กำหนดจากวัตถุประสงค์โครงการ (E) ที่มีผลลัพธ์รวมตามวัตถุประสงค์หลักของแผนฯข้อต่างๆ (F1) คือวัคถุประสงค์หลักของโครงการฯ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ(Outputs)ภายใต้ยุทธ์ศาสตร์เดียวกันควรประสานสัมพันธ์และรวมได้เป็นวัตถุประสงค์หลักของแผน(Outcomes)ที่ยุทธศาสตร์นั้นๆรองรับ (F2) คือวัคถุประสงค์หลักของแผนฯ Work sheet; แผนกลยุทธ์ อุทิศ สค. /2547
แผนฯกาชาด (ร่างที่ 6 ; โดยการพิจารณาร่วมหน่วยงานหลักและกก.บริหารฯ) 1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพให้เป็นผู้นำด้านบริการทางการแพทย์ที่เน้นคุณค่าชีวิตมนุษย์ “เร่งการพัฒนาสู่ความเป็นผู้นำด้าน การบริการทั้งในและนอกโรงพยาบาลโดยเน้น ความอารี และตระหนักในศักดิ์ศรี และคุณค่าความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย” ขอบข่ายการดำเนินงาน(สาระ)ที่เกี่ยวข้องของยุทธศาสตร์ฯ(เชิงรุก; แผนงาน/โครงการทั้งระยะสั้นและยาว) สร้างวิธีการบริการทางการแพทย์ ที่มีสมรรถนะสูง ให้การดูแลผู้ป่วยทั้งในและนอกโรงพยาบาลอย่างเหมาะสม โดยเน้นการเร่งพัฒนาศักยภาพการให้บริการทางการแพทย์และรักษาพยาบาล ของหน่วยงานสภากาชาดไทย ให้อยู่ในมาตรฐานสากลและครบวงจร ควบคู่การพัฒนาด้านเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ งานวิจัยทางการแพทย์ ให้หลากหลายในระดับที่เป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการและมีฐานะเป็นองค์กรชั้นนำของภูมิภาคนานาชาติ” แผนงานที่เกี่ยวข้อง แผนงานฝื้นฟูสมรรถนะร่างกาย แผนงาน Hospice คนไข้เรื้อรัง แผนงานบูรณาการแก่บริการทางการแพทย์ แผนงานสร้าง-ขยายเครือข่ายการฝึกอบรมฯ แผนงานพัฒนา-พร้อมทางวิทย-การแพทย์ แผนงานพัฒนา-เป็นเลิศการบริการ แผนงานพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสากล แผนกาชาด/อุทิศ/13 กย. 47
ตารางงาน กำหนด ยุทธศาสตร์ และ แผนงานเชิงยุทธ์ 1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพให้เป็นผู้นำการบริการฯ (ร่างที่ 6 ; โดยการพิจารณาร่วมหน่วยงาน/กก.บริหารฯ) ยุทธศาสตร์ ( สาระ ) แผนงาน ของยุทธศาสตร ประเด็นชี้นำจาก SWOT (A) (B) ประเด็นชี้นำการปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องของยุทธศาสตร์ (C) (D) S1 เป็นองค์กรการกุศลแห่งเดียวที่มีหน่วยแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา A S6 เป็นองค์กรแห่งเดียวในประเทศที่มีการดำเนินงานด้านโรคเอดส์อย่างครบวงจร A S2 รัฐให้การสนับสนุนด้านงบประมาณอย่างต่อเนื่อง A S7 เป็นสภากาชาดเพียงแห่งเดียวที่มีโรงพยาบาล สามารถดำเนินการอย่างครบวงจร B S10 มีความสัมพันธ์และการสนับสนุนทรัพยากร การบริหารกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย B S14 เป็นองค์กรด้านสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการหรือประสานงานเพื่อพัฒนาความรู้ด้านวิชาการ B “บริการอย่างมีบูรณาการ” “เร่งการพัฒนาสู่ความเป็นผู้นำด้าน การบริการทั้งในและนอกโรงพยาบาลอย่างเอื้ออารีแก่ผู้ป่วยให้สมศักศรีความเป็นมนุษย์ ควบคู่การผลิตบุคลากร ทางการแพทย์ที่ทรงคุณสมบัติแก่กาชาดอย่างมีคุณภาพสูงระดับภูมิภาคอาเซี่ยน” แผนงานบูรณาการการบริการทางการแพทย์ แผนงานฟื้นฟูสมรรถนะร่างกาย แผนงาน Hospice แผนงานพัฒนาความเป็นเลิศการบริการ แผนงานพัฒนาความพร้อมทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ แผนงานพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสากล แผนงานการสร้างและขยายเครือข่ายการฝึก อบรมเพื่อเสริมความหลากหลาย “การฟื้นฟูสมรรถนะร่างกาย” “การดูแลคนไข้เรื้อรัง” “การบริการครบวงจร” “มาตรฐานสากล” O2 ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยี เป็นโอกาสในการพัฒนาการบริการ ให้ทันสมัยได้ A O6 องค์กรนานาชาติให้การสนับสนุนด้านการวิจัยทางโรคเอดส์ B O15 การระบาดของโรคที่เคยควบคุมได้และการเกิดโรคใหม่เป็นไปได้สูง กาชาดต้องสร้างความพร้อม C O20 ความต้องการปฐมพยาบาลจากการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้ อย่างต่อเนื่อง D O21 การปฏิรูประบบสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการทำให้มีความต้องการพยาบาล วิชาชีพเพิ่มขึ้น D O26 การศึกษาต่อเนื่องในสายวิชาชีพการพยาบาล ทำให้เกิดความต้องการฝึกอบรม D “วิจัยทางการแพทย์” “ขยายเครือข่าย” วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาศักยภาพการให้บริการสู่มาตรฐานสากล A=33.33% B=33.33% C=8.33% D=25% (A) เป็นประเด็นชี้นำที่ดึงมาจากผลการวิเคราะห์ SWOT ที่มีลำดับควาสำคัญสูง เพื่อใช้ชี้แนะและกำหนดกรอบชี้นำการปฏิบัติหรือยุทธศาสตร์ของแผน (ลำดับความสำคัญยุทธศาสตร์จะถูกกำหนดจาก%ของประเด็นแต่ละระดับ) (B) กำหนดจากสาระชี้นำ(A)และผนวกกับข้อคำนึงด้าน นวตกรรม หลักวิชาการ หลักบริหาร การเมือง และประสบการณ์เป็นกรอบชี้นำการปฏิบัติให้บรรลุเป้าประสงค์(วัตถุประสงค์หลักของแผน พันธกิจ วิสัยทัศน์) (C) เป็นประเด็น(C1)ที่กำหนดเพื่อชี้นำไปสู่การปฏิบัติได้จาก (B)ยุทธศาสตร์ที่กำหนด ที่เทียบกับข้อเสนอ((C2); แผนงาน โครงการที่ผู้บริหารแต่ละด้านเสนอมา) และคณะทำงานพิจารณาว่ามีนัยยะสำคัญเชิงยุทธ์ (ที่มีผลสัมฤทธิ์เกิดการพัฒนา) (D) กำหนดโดยแปลง(C)ให้เป็นแผนงานที่นำไปสู่ผลสัมฤทธ์ เป็นแผนงานเชิงยุทธ์ตามเหตุผลเชิงวิชาการและประสพการณ์การบริหารจัดการของสาขานั้นๆ Work sheet; แผนกลยุทธ์ อุทิศ สค. /2547
(ร่างที่ 6 ; โดยการพิจารณาร่วมหน่วยงาน/กก.บริหารฯ) ตารางงาน กำหนดโครงการเชิงยุทธ์ 1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพให้เป็นผู้นำการบริการฯ (ร่างที่ 6 ; โดยการพิจารณาร่วมหน่วยงาน/กก.บริหารฯ) แผนงาน ของยุทธศาสตร (D) แนวทางปฏิบัติ ของแต่ละแผนงาน (F) โครงการเชิงยุทธ์ ของแต่ละแผนงาน ดัชนีผลสัมฤทธ์ (E) โครงการ(Output) (F2) (F1) วัตถุประสงค์หลักแผน (Outcome) แผนงานบูรณาการบริการทางการแพทย์ โครงการ แผนงานบูรณาการการบริการทางการแพทย์ แผนงานฟื้นฟูสมรรถนะร่างกาย แผนงาน Hospeace แผนงานพัฒนาความเป็นเลิศการบริการ แผนงานพัฒนาความพร้อมทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ แผนงานพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสากล แผนงานการสร้างและขยายเครือข่ายการฝึก อบรมเพื่อเสริมความหลากหลาย การพัฒนาดัชนีชี้วัด การสร้างแนวทางการบูรณาการ แผนงานฟื้นฟูสมรรถนะทางร่างกาย การจำแนกโรคเพื่อการฟื้นฟู การกำหนดแนวทางการฟื้นฟู แผนงาน Hospice โครงการ การเลือกสถานการณ์ การประสานงาน ส่งขรับผู้ป่วย แผนงานพัฒนาความเป็นเลิศฯ การพัฒนาศูนย์การแพทย์ระดับสากล(Medical Hup) โครงการ การพัฒนาบริการและยกระดับความสามารถทางการแพทย์ แผนงานพัฒนาความพร้อมฯ การพัฒนาผลิตภัณท์ชีววัตถุ การเร่งขยายความพอเพียงด้านอวัยวะทดแทน ฯลฯ แผนงานพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญฯ โครงการ การวิจัยทางด้านโรคติดต่อที่กระทบสังคมรุนแรง การวิจัยพิษจากสัตว์ การวิจัยเพื่อความเป็นเลิศด้านการแพทย์ แผนงานสร้างและขยายเครือข่ายฯ โครงการ การพัฒนาเครือข่ายการอบรมแพทย์ทางเลือก การพัฒนาการแพทย์ตะวันออกแบบองค์รวม (D) กำหนดโดยแปลง(C)ให้เป็นแผนงานที่นำไปสู่ผลสัมฤทธ์ เป็นแผนงานเชิงยุทธ์ตามเหตุผลเชิงวิชาการและประสพการณ์การบริหารจัดการของสาขานั้นๆ ฯลฯ (E) กำหนดโดยแปลง (D) เป็นแนวทางปฏิบัติของแผนงานฯและโครงการเชิงยุทธ์ที่มีผลสัมฤทธิ์ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาต่อองค์กรทำให้องค์กรอยู่รอดและแข่งขันได้ (F) กำหนดจากวัตถุประสงค์โครงการ (E) ที่มีผลลัพธ์รวมตามวัตถุประสงค์หลักของแผนฯข้อต่างๆ (F1) คือวัคถุประสงค์หลักของโครงการฯ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ(Outputs)ภายใต้ยุทธ์ศาสตร์เดียวกันควรประสานสัมพันธ์และรวมได้เป็นวัตถุประสงค์หลักของแผน(Outcomes)ที่ยุทธศาสตร์นั้นๆรองรับ (F2) คือวัคถุประสงค์หลักของแผนฯ Work sheet; แผนกลยุทธ์ อุทิศ สค. /2547
พัฒนาศักยภาพการบริการ เสริมบทบาท เหล่ากาชาด Red Cross Strategy Map พัฒนาศักยภาพการบริการ เสริมบทบาท เหล่ากาชาด SO/A=33.3% Obj 1 ; Ext.P. ST/A=21.43% Obj 4/ Int. P. พัฒนาการจัดการรายได้ พัฒนาระบบ บรรเทาทุกข์ SO/A=36.36% WT/A=30.77% Obj 6/ F.P. Obj 2/ Int.P. ประสานการบริหาร ยกระดับบริการโลหิตให้โดดเด่น WT/A=18.18% WO/A=16.67% Obj 5/ G&L P.& Int.P. ST/A=35.72% Obj 3 Ext. P. แผนกลยุทธ์;กาชาด อุทิศ กพ. 47
การแปลงกลยุทธเป็นโครงการ Review-ตรวจสอบโครงการที่กำหนด 1.โครงการรองรับยุทธศาสตร์ และประสานกับโครงการ อื่นในแผนงานสู่เป้าประสงค์ของแผนได้อย่างสัมฤทธิ์ผล ดัชนีทุกระดับครบและสอดรับกัน (มีที่มาที่ไป)หรือไม่ 2.โครงการมีเป้าหมายหลัก-รองชัดเจนไม่หลากหลายและ สับสน(เป็นแผนงาน) และ ไม่เล็กจำเพาะ(เป็นกิจกรรม) 3.โครงการมีขอบข่ายงานที่เหมาะสมกับสมรรถนะของ กลไกที่รับผิดชอบ 4.ข้อเสนอโดยรวมเป็นแผนงานโครงการเชิงยุทธ์ และ สำคัญควรผ่านการอนุมัติหรือไม่ แผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2546
การติดตามประเมินผลแผนฯ “หากประเมิน ไม่ได้ ก็ไม่ได้พัฒนาต่อ อย่างถูกต้อง หากพัฒนาแล้วไม่ได้ประเมินก็ตัดสินไม่ได้ว่าพัฒนาแล้ว”
การติดตามประเมินผล;ระบบบริหารที่ทันสมัย แนวคิด การบริหารจัดการที่ดี (Good governance) แนวคิด ข้อคำนึง หลักการจัดการองค์กรยุคโลกาภิวัฒน์(BSC) การพัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) การจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์(RBM) การพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม (ชุมชน ผู้ประกอบการ ฯลฯ) การจัดการเฉพาะด้านฯ (เทคโนฯเหมาะสม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ ) เครื่องมือ (การกำกับ ตรวจสอบ: เพื่อช่วยเร่งรัดการขับเคลื่อนแผนฯสู่เป้าหมาย บนความเปลี่ยนแปลง) การติดตาม-ประเมินผล โครงการเชิงยุทธ์(Strategic projects) ระบบ บริหารกำกับภายใน(การควบคุม ตรวจสอบ การสอบทาน บริหารความเสี่ยง บริหารการเงิน ) ระบบ กลไก และกระบวนการประเมินความคุ้มค่า บริหารจัดการองค์ความรู้(KM) อุทิศ พค.51
การติดตามและประเมินผล แผนงาน Best Practices 1.ระบบการติดตาม ช่วงเวลา/ผลผลิต Milestone/Benchmarking Upgraded Performance โครงการ Data Variable Indicators Source & 2.ระบบประเมินผล วัตถุประสงค์ หลัก เกณฑ์-ผลลัพธ์ (Achievement) 3.กำหนดการ Who/How Report Timing การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มี.ค./2544
ผลกระทบตามวัตถุประสงค์แผนฯ ความสัมพันธ์ ดัชนี ผลผลิต-ผลลัพธ์(ผลกระทบ) ปฏิรูป เสริมรากฐาน ฟื้นสมรรถนะ แก้ยากจน เป้าประสงค์ (วัตถุประสงค์) เป้าประสงค์ แผน ระดับปฏิบัติ แผน ระดับนโยบาย (เป้าหมาย) กลไก ผลักดัน ตรวจสอบ กลไก ผลักดัน ตรวจสอบ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ การดำเนินการ แผนงาน-โครงการ(1) ดัชนีความก้าวหน้า ช่วงแรก ดัชนีความก้าวหน้า ช่วงกลาง ดัชนีผลผลิต ดัชนีผลลัพธ์ ผลกระทบตามวัตถุประสงค์แผนฯ ดัชนีผลกระทบ ข้างเคียง (บวก-ลบ) การดำเนินการ โครงการ(2) ดัชนีความก้าวหน้า ช่วงแรก ดัชนีความก้าวหน้า ช่วงกลาง ดัชนีผลผลิต การวางแผนกลยุทธ อุทิศ/ก.ย../2544
ความเชื่อมโยงระหว่างการประเมินการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกับการประเมินความคุ้มค่า ประเมินความคุ้มค่า การจัดทำคำรับรองฯ (กพร) เป้าประสงค์ กลุ่มภารกิจ 1 ยุทธศาสตร์ ผลผลิต ผลลัพธ์ กระทรวง ต้นทุนต่อหน่วย Cost-effectiveness ผลประโยชน์ของภารกิจ -อัตราส่วนต้นทุนค่าใช้จ่าย -NPV -IRR -ผลกระทบอื่น ๆ ที่ประเมิน เป็นมูลค่าไม่ได้ กลุ่มภารกิจ 2 เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ประเมินความเหมาะสมของ งาน/โครงการ ก่อนดำเนินการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพ การพัฒนาองค์กร (Balanced Scorecard) สำนักงานปลัดกระทรวงฯ เป้าประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์ สำนักงาน ก. เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต ผลลัพธ์ การประเมินความคุ้มค่า : ดำเนินการทั้งก่อนและหลังการปฏิบัติภารกิจ โดยใช้ตัวชี้วัดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ตามคำรับรองฯ (กพร.) บวกกับตัวชี้วัดผลลัพธ์/ผลกระทบและตัวชี้วัดเพิ่มเติม
แผนปรับองค์กร-กลไก
บริการ ผลิต แข่งขัน ลดความขัดแย้ง เสริมการประสานแผนฯ เกิดพลังร่วม อุทิศ มี.ค. ‘46
ผังระบบการประกอบการ Business Process Jobs and Structures แผนที่ “กระบวนการ” ผลิตสินค้า การสำรวจ-ติดต่อ-สอบถามความเห็นลูกค้า ความต้องการลูกค้า กลุ่มเป้าหมาย วงการธุระกิจ/ตลาด แนวคิดผลิตภัณท์ แนวทางการพัฒนา โรงงาน/การผลิต กลยุทธการพัฒนา การออกแบบผลิตภัณท์ ปัจจัยถ่วง ปัจจัยเสริม ผลิตภัณท์ ตามต้องการ ลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณท์ การพัฒนา/ระบบ/สมรรถนะ ด้านโรงงานผลิต Business Process Jobs and Structures Values and Culture Management and Monitoring Systems แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46 แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46
ผลิตภัณท์/บริการ วัตถุประสงค์หลัก ผลิตภัณท์/บริการ กระบวนการที่อาจมีปัญหา ? ตัวอย่าง Work sheet การวิเคราะห์ Work process กระบวนการที่ได้เปรียบ ? ผลิตภัณท์/บริการ ปัจจัยถ่วง ปัจจัยเสริม วัตถุประสงค์หลัก ผลิตภัณท์/บริการ กระบวนการที่อาจมีปัญหาด้านการประสานงาน....... ขั้นตอนการทำงานด้าน......... ขั้นตอนการทำงานด้าน.......... กระบวนการที่อาจมีปัญหาด้านความล่าช้า...... ขั้นตอนการทำงานด้าน......... ขั้นตอนการทำงานด้าน.......... กระบวนการที่ได้เปรียบด้านความคล่องตัว..... ขั้นตอนการทำงานด้าน......... ขั้นตอนการทำงานด้าน.......... ขั้นตอนที่อาจมีปัญหาด้านการตัดสินใจ...... ขั้นตอนการทำงานด้าน......... ขั้นตอนการทำงานด้าน.......... Process เดิม Process เสริม ขั้นตอนที่ได้เปรียบด้าน........ อุทิศ/กันยายน/2547
การระดมสมองและแนวคิด เพื่อร่างแนวทางการปฏิรูปกระบวนงานขององค์กร ปฎิรูปกระบวนงาน ปรับกลไก ปฎิรูปกลไก วัฒนธรรม กำหนด กระบวน การที่ต้อง ปฏิรูป ลด เลิก ประหยัด เร็วทันต้องการ ง่าย ชัด ทีมงาน บูรณาการ นวตกรรม ลูกค้า สัมนา โครงการ นำร่อง Several jobs are combined into one ลดงานแบบ assembly line; ลดคน/ ลดเวลา ลดภาระจัดการ เน้น integrated processes,case workers,case teams. Work units ; from functional departments to process teams Jobs ; from tasks to multi-dimensional works The step..performed in a natural order. ลดการทำงานที่ละขั้นตอน เร่งงานไม่ต้องรอกัน เน้นงานคู่ขนาน Delinearing. People’s roles ; from controlled to empowered Processes have mutiple versions. เลิกพิธี-งานใหญ่/standardization.(ขี่ช้างจับตั๋กแตน ซับซ้อน-ช้า) เน้นบริการอย่างหลากหลายคล่องตัว สมส่วน ทันกาล. Job preparation ; from training to education Work is perform where it make most sense เลิกเสียน้อยเสียยาก... เพราะกระจุกงาน เน้นกระจายบทบาท Performance measures and compensations ; from activity to results Worker make decisions ลดการต้องขออนุมัติที่ไม่เพิ่มValues ลดเวลา/คนจัดการ เน้นกระจายอำนาจ. Advancement criteria ; from performance to ability. จัดลำดับ ความสำคัญ กระบวน การ Checks and control are reduced. เลิก non value-adding but costly control เน้นการปรับการตรวจสอบเฉพาะที่จำเป็น. Values ; from protective to productive (customers; ) ประเมิน ผล Reconciliation is minimized. ลดงาน ส่งเข้าส่งออก ที่ไม่จำเป็น ต้องมีความเห็นทุกฝ่าย เน้น one stop service. Managers ; from supervisors to coaches /but bosses. A case manager provides a ..point of contract. ให้งานท้าทายแก่คนที่เหมาะสม แต่พร้อมช่วยหากขอ เน้น empowerment. Organization structures ; from hierarchical to flat. Hybrid centralized/decentra.op.. are prevalent. กระจายงาน ประสานเครือข่าย ผ่องถ่ายภาระ ลดคณะทำงาน เน้นเทคโนโลยี ICT. Executives ; from scoreekeepers to leaders อุทิศ / 24 / Aug. / 03
ขั้นตอนหลัก การจัดการกระบวนการ กระบวนการที่สร้างคุณค่า กระบวนการสนับสนุน จากพันธกิจ-ยุทธศาสตร์ จากความต้องการองค์กร กำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า กำหนดกระบวนการสนับสนุน วิเคราะห์ จัดลำดับ คัดเลือก จากความต้องการประชาคม จากความต้องการด้านต่งๆ จัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ กำหนดและสร้างตัวชี้วัด กำหนดและสร้างตัวชี้วัด จากองค์ความรู้/เทคนิค แนวคิดใหม่/Best practices จากความต้องการลูกค้า ผลกระทบ ความจำเป็น จาก พิจารณา ขั้นตอน ระยะเวลา ผลิตภาพ คุมค่าใช้ ผลลัพธ์ ออกแบบ กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน ออกแบบ และพิจารณา การเปลี่ยนแปลง บูรณาการ ผู้รับผิดชอบ การควบคุมกระบวนการให้บรรลุผล นำกระบวนการฯสู่การปฏิบัติ กำหนดดัชนี เป้าหมาย-แนวทาง-มาตรฐานการปรับปรุง-การปฏิบัติทุกขั้นตอน(กระบวนการใหม่) จากผังงาน ขั้นใดมีความเสี่ยง ทำตามมาตรฐานยาก พิจารณาการประเมิน ลดความสูญเสีย และบริหารความเสี่ยงการปฏิบัติ คู่มือการปฏิบัติงาน การประเมินและการบริหารความเสี่ยง จากการติดตามประเมิณผล พิจารณาปรับตามข้อประเมินและ ขยายผลอย่างต่อเนื่อง ปรับกระบวนงาน เปรียบเทียบผู้นำฯและ เผยแพร่ Source; ประยุกต์จาก คู่มือเทคนิคการปรับปรุงและพัฒนาองค์กร กพร. 2551 ปปช. อุทิศ ธค. 52
การพัฒนาองค์กร กลไก ; บุคลากร แผนกลยุทธ์(แผนยุทธศาสตร์) ทิศทางการพัฒนา (วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก) (เป้าหมาย หน่วยงาน/แผนงาน) แนวทาง (ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง) วัตนธรรม ค่านิยม ที่เกี่ยวข้อง แผนฯพัฒนาบุคลากร วัตถุประสงค์ ด้านทรัพยากรมนุษย์ (HR Objectives)และค่านิยมหลัก วิเคราะห์สภาวะแวดล้อมที่ต้องเผชิญสู่ประสงค์ (HR SWOT analysis) กำหนดยุทธศาสตร์ที่สอดรับด้านทรัพยากรมนุษย์ (HR Strategies) การประเมินสมรรถนะการบริหารพัฒนาการบุคคล (HR Scorecards) มาตรการเสริมด้านทรัพยากรมนุษย์ (HR Measurements) แผนงาน-โครงการปฎิบัติ และงบฯ ด้านทรัพยากรมนุษย์ (Action projects) การดำเนินการ ตามแผนฯสู่เป้าหมาย การติดตามประเมินผลและการปรับแนวทางดำเนินการ อุทิศ พค.51
การพัฒนาบุคลากร(ต่อ) แนวคิด-ข้อคำนึงหลัก เจตนาหลักการพัฒนาบุคลากรให้ได้บุคลากรคุณภาพ/สมรรถนะที่ทำงานได้อย่างเต็มศักยภาพ ทิศทางการพัฒนาบุคลากรจะต้องบริหารให้รองรับหรือสู่ทิศทางเดียวกันกับแผนกลยุทธิ์ แผนพัฒนาบุคลากรเน้นสมรรถนะองค์กรที่สามารถทำภาระกิจหลักแก่พันธกิจ-กลยุทธ์ได้ ค่านิยมองค์กรควรสอดคล้องและหนุนทั้งทิศทางการพัฒนาและแนวทางเชิงยุทธ์ของแผนฯ ยุทธศาสตร์และแผนงาน-โครงการด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นแนวทางเชิงยุทธ์ของแผนฯด้วย การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นมาตรการที่อาศัยการประสานงานและความร่วมมือทุกฝ่าย แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สัมพันธ์และเป็นแนวเดียวกับการบริหารและการวางแผนฯ Reengineering TQM / TPM TQC/QCC/MBO BSC ISO GG 5S (5ส.) PMQA (Public Sector Management Quality Award) Risk Management เครื่องมือ ระบบบริหารและแผนพัฒนาบุคลากร (การจัดหา ระบบค่าจ้าง อบรม ประเมิณผลงาน ก้าวหน้าวิชาชีพ แรงงานสัมพันธ์ ฯลฯ) แผนงานจัดการองค์ความรู้ ( KM ; IT ) การกำหนดคุณสมบัติ การเสริมสมรรถนะและการจัดระบบ ประเมิน ข้อมูลบุคลากร ( Job Description ; Competency ; HRIS) การพัฒนาทีมงานอทิ ; ทีมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ กลุ่มผู้นำใหม่ กลุ่มประสานฯ ประชาสัมพันธ์ อุทิศ พค.51
การแปลงนโยบายสู่ปฏิบัติ ดร. อุทิศ ขาวเธียร (ผู้ทรงคุณวุฒิด้านยุทธศาสตร์ฯ)