นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Graphi c Design.
Advertisements

Device for single – phase ac parameter measurement
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยอะไรบ้าง.
การบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา
CAD / CAM CAD : COMPUTER AIDED DESIGN การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ง30208 การซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1. ความหมายฐานข้อมูล 2. โครงสร้างของฐานข้อมูล
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น Basic of Computer
Verification & Validation K.Mathiang. Objective สามารถอธิบายผังขั้นตอนการออกแบบระบบ ดิจิทัลได้ สามารถอธิบายความเกี่ยวข้องของการทวนสอบ (Verification) กับการออกแบบระบบดิจิทัลได้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
LOGO ระดมสมอง สีเขียว. ปัญหาและอุปสรรคแนวทางการพัฒนา ด้าน System 1. ระบบเครือข่ายไม่ครอบคลุมและ ไม่หลากหลาย 1. ศูนย์สารสนเทศเป็นศูนย์กลางในการ พัฒนาเครือข่ายของกรมและจัดหา.
Welco me to. วัตถุประสงค์ :  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการใช้ คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสมและเป็น ประโยชน์  เพื่อให้นักศึกษารู้จักใช้คอมพิวเตอร์ให้ เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า.
โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
พัฒนาระบบควบคุมแสง อัตโนมัติ ใช้ข้อมูล real time ของเครื่อง PC นำมาประมวลผล เพื่อใช้ ผลลัพธ์ในการสร้าง sequence ควบคุมระบบแสง.
นำเสนอโดย นายวรากรสอนนุ้ย WU นายวสันต์ชานุชิต KKU นางสาวอัญธิชา พงษ์ไตรรัตน์ KKU.
นางสาวเพ็ญพรรณ ศิริ วงษ์ (ED1S) ID B06 เอก วิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะศึกษาศาสตร์
ตั่งอยู่ที่ (It City ฉะเชิงเทรา ) “ ” - ค้าปลีก - มีฝ่าย บริการ - ค้าส่ง - มี ฝ่ายรับเครื่องซ่อม.
นางสาวธนิสา กองเพ็ชร SC1ED1 B
ส่งเสริมให้คำที่ปรึกษาและบริการความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
คุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้นของบุคลากรกรมเจ้าท่า
แม่แบบที่ดีของการบริการ
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ครูสมศรีกับยุคปฏิรูปการศึกษา
ดร.เกศรี วิวัฒนปฐพี การสร้างเครือข่าย
บทที่ 6 : Firewall Part3 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
การเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน สวัสดิการการรักษาพยาบาลข้าราชการ
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.
บทที่ 10 การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
Educational Information Technology
ระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 2 ซอฟต์แวร์ รายวิชา ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อ.อภิพงศ์ ปิงยศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด จังหวัดสระบุรี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
Project Feasibility Study
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์
เหตุใด... ต้องมีการประกาศราคากลาง
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
การบริหารพัสดุ ของหน่วยงานภาครัฐ นำเสนอโดย นายอธิวัฒน์ โยอาศรี
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
การประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของธุรกิจขายสินค้าออนไลน์
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การเปลี่ยนจากระบบ ซี สู่ระบบ แท่ง
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
สรุปผลงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
Group Decision Support systems: GDSS
บทที่ 4 การประเมินคุณค่าทรัพยากรสารสนเทศ
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
บทที่ 5 การให้บริการโครงสร้างพื้นฐานInfrastructure as a service (IaaS)
ตัวอย่างการนำ AI ไปใช้ในระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี ประวัติการศึกษา -ปริญญาตรีครุศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2 ) -ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา -ปริญญาโทครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา

ประวัติการทำงาน - ปี พ.ศ.2530 - 2542 - ปี พ.ศ.2551 – ปัจจุบัน ตำแหน่งอาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดอุทยาราม ตำแหน่งอาจารย์ 2 ระดับ 5 โรงเรียนวัดอุทยาราม ตำแหน่งอาจารย์ 2 ระดับ 6 โรงเรียนวัดอุทยาราม - ปี พ.ศ.2551 – ปัจจุบัน ตำแหน่งผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ตำแหน่งผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียนท่าชนะ ตำแหน่งผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี ตำแหน่งผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี -ปี พ.ศ.2542 – 2543 ตำแหน่งครูใหญ่ ระดับ 6 โรงเรียนบ้านท่านาง -ปี พ.ศ.2543 – 2551 ตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ ระดับ 6 โรงเรียนบ้านน้ำ รอบ ตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ ระดับ 6 โรงเรียนบ้านศรีชัย คราม ตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ ระดับ 7 โรงเรียนวัดนอก ตำแหน่งผู้อำนวยการ ระดับ 7 โรงเรียนวัดนอก ตำแหน่งผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียนวัด นอก

ประสบการณ์การอบรมศึกษาดูงาน การอบรม การประชุมและศึกษาดูงาน (ระดับ สพฐ.) ปี พ.ศ.2555 1.ศึกษาดูงาน เมืองเสินเจิ้น เกาะฮ่องกง ประเทศจีน โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ดูงานด้านการผลิตกระแสไฟฟ้าทางเลือก 2.ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยเซี๊ยเหมิน ประเทศจีน ดูงานด้านวัฒนธรรมและภาษาจีน โดย สพฐ. ปี พ.ศ.2557 1.ศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ดูงานด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการเสริมสร้างทักษะชีวิตที่เน้นการจัดการอารมณ์และความเครียด 2.ร่วมศึกษาดูงานสถาบันฝึกหัดครู ประเทศมาเลเซีย โดยกลุ่มโรงเรียนใน พระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ปี พ.ศ.2558 1.เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติด้านการศึกษา พิเศษครั้งที่ 1 โดย สพฐ.

การพัฒนาข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หน่วยที่3.3 การบริหารงาน 4 ฝ่าย 3.3.4 การบริหารงานทั่วไป โดย นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11

วัตถุประสงค์ “เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ การ บริหารงานทั่วไปและสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ ในการบริหารสถานศึกษา”

การบริหารงานโรงเรียนนิติบุคคล บริหารงานวิชาการ ๑. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ๗. การนิเทศการศึกษา ๒. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 3. การวัดผล ประเมินผลและเทียบ โอนผลการเรียน ๔. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๕. การพัฒนาสื่อนวัตกรรม และ เทคโนโลยี 6.การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ บริหารงานบุคคล บริหารงานงบประมาณ บริหารงานทั่วไป ตารางเปรียบเทียบ การบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารบุคคล การบริหารทั่วไป

๑ ขอบข่ายและภาระงานการบริหารทั่วไป การดำเนินงานธุรการ แนวทางปฏิบัติ 1) ศึกษาวิเคราะห์สภาพงานธุรการของสถานศึกษาและระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง 2) วางแผนออกแบบระบบงานธุรการลดขั้นตอนการทำงานให้มีประสิทธิภาพ 3) จัดบุคลากรรับผิดชอบและพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถ ในการปฏิบัติงานธุรการ ตามระบบที่ กำหนดไว้ 4) จัดหา Hardware และ Software ให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานด้านธุรการได้ตาม ระบบที่กำหนด 5) ดำเนินงานธุรการตามระบบที่กำหนดไว้ โดยยึดความถูกต้องรวดเร็ว ประหยัดและคุ้มค่า 6) ติดตามประเมินผล และปรับปรุงงานธุรการให้มีประสิทธิภาพ

๒ งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แนวทางการปฏิบัติ ๑) รวบรวมประมวลวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๒) สนับสนุนข้อมูล รับทราบหรือดำเนินการตามมติของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓) ดำเนินงานด้านธุรการในการจัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔) จัดทำรายงานการประชุมและแจ้งมติที่ประชุมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบดำเนินการ ถือปฏิบัติ แล้วแต่กรณี ๕) ประสานการดำเนินงานตามมติการประชุมในเรื่องการอนุมัติ อนุญาต สั่งการ เร่งรัด การดำเนินการและรายงานผลการดำเนินการให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทราบ

๓ การพัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ สำรวจระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ แนวทางการปฏิบัติ สำรวจระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ จัดทำทะเบียนเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ จัดทำระบบฐานข้อมูลของสถานศึกษา พัฒนาบุคลากรผู้รับผิดชอบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะใน การปฏิบัติภารกิจ จัดระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศเชื่อมโยงกับสถานศึกษาอื่นและเขตพื้นที่การศึกษาและส่วนกลาง เสนอและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร การบริการและการประชาสัมพันธ์ ประเมินและประสานงานระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ และปรับปรุงพัฒนาเป็นระยะ ๆ

๔ การประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา แนวทางการปฏิบัติ 1) จัดให้มีระบบการประสานงานและเครือข่ายการศึกษา 2) พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาเครือข่ายการศึกษา 3) ประสานงานกับเครือข่ายการศึกษาเพื่อแสวงหาความร่วมมือความช่วยเหลือ 4) เผยแพร่ข้อมูลเครือข่ายการศึกษาให้บุคลากรในสถานศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง 5) กำหนดแผนโครงการหรือกิจกรรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายการศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา 6) ให้ความร่วมมือและสนับสนุนทางวิชาการแก่เครือข่ายการศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา อย่างต่อเนื่อง

๕ การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์ ๕.1 การจัดระบบการบริหาร แนวทางการปฏิบัติ การศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างภารกิจ การดำเนินงาน ปริมาณ คุณภาพและสภาพของสถานศึกษา วางแผนออกแบการจัดระบบโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายใน ระบบการทำงานและการบริหารงานของสถานศึกษา นำเสนอคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา พิจารณาให้ความเห็นชอบในการแบ่ง ส่วนราชการในสถานศึกษา ประกาศและประชาสัมพันธ์ให้ส่วนราชการตลอดจนประชาชนทั่วไปทราบ ดำเนินการบริหารจัดการให้เป็นไปตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการที่กำหนด ติดตามประเมินผลและปรับปรุงการจัดระเบียบบริหารให้มีประสิทธิภาพ

๕ การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร ๕.๒ การพัฒนาองค์กร แนวทางการปฏิบัติ ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูล สภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาองค์กรของสถานศึกษา กำหนดแนวทางการพัฒนาองค์กรให้ครอบคลุมโครงสร้าง ภารกิจ บุคลากร เทคโนโลยี และ กลยุทธ์ให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการจำเป็นของสถานศึกษา ดำเนินการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ทักษะเจตคติ ความสามารถที่เหมาะสมกับโครงสร้าง ภารกิจเทคโนโลยีและกลยุทธ์ของสถานศึกษา ๕) กำหนดเป้าหมาย ผลผลิตผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ในการปฏิบัติงานบุคลากร ๕) ติดตามประเมินผลผลการปฏิบัติงานตามแนวทางการพัฒนาองค์กรเป็นระยะๆอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ๖) นำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรและขบวนการปฏิบัติงานให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

6 งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา แนวทางการปฏิบัติ 1) สำรวจข้อมูลด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของสถานศึกษา 2) วางแผน กำหนดนโยบายและแนวทางการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี 3) ระดมจัดหาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้งานด้านต่างๆของสถานศึกษา 4) สนับสนุนให้บุคลากรนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษามาใช้ในการบริหารและพัฒนา การศึกษา 5) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการผลิตรวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมีคุณภาพและประสิทธิภาพ 6) ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 7) ติดตามประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับ กระบวนการเรียนรู้

7 การส่งเสริมสนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณบุคลากรและบริหารทั่วไป แนวทางการปฏิบัติ 1) สำรวจปัญหาความต้องการจำเป็นของด้านวิชาการงบประมาณ บุคลการและบริหารทั่วไป 2) จัดระบบส่งเสริมสนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการบริหารงานด้านวิชาการ 3) จัดหาสื่อวัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยีที่เหมาะสม 4) ติดตาม ประเมินผลการสนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติ 5) นำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้การสนับสนุนและอำนวยความสะดวกด้านต่างๆให้มี ความยืดหยุ่นคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ

8 การบริหารจัดการอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม แนวทางการปฏิบัติ 1) กำหนดแนวทางการวางแผนการบริหารจัดการอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา 2) บำรุงดูแล และพัฒนาอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา 3) ติดตามและตรวจสอบการใช้อาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา 4) สรุป ประเมินผลและรายงานการใช้อาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา

9 การจัดทำสำมะโนผู้เรียน แนวทางการปฏิบัติ 1 ) ประสานงานกับชุมชนและท้องถิ่นในการสำรวจข้อมูลจำนวนนักเรียนที่จะเข้ารับการบริการทาง การศึกษาในเขตบริการของสถานศึกษา 2) จัดทำสำมะโนผู้เรียนที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาของสถานศึกษา 3) จัดระบบข้อมูลสารสนเทศจากสำมะโนผู้เรียน 4) เสนอข้อมูลสารสนเทศการสำมะโนผู้เรียนให้เขตพื้นที่การศึกษารับทราบ

10 การรับนักเรียน แนวทางการปฏิบัติ 1) ประสานการดำเนินการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาร่วมกันและเสนอข้อตกลงให้เขตพื้นที่การศึกษา เห็นชอบ 2) กำหนดแผนการรับนักเรียนของสถานศึกษาโดยประสานงานกับเขตพื้นที่การศึกษา 3) ดำเนินการรับนักเรียนตามแผนที่กำหนด 4) ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการติดตามช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาใน การเข้าเรียน 5) ประเมินผลและรายงานผลการรับเด็กนักเรียนให้เขตพื้นที่การศึกษารับทราบ

11 การส่งเสริมและประสานงานการจัดการศึกษาในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศัย แนวทางการปฏิบัติ สำรวจความต้องการในการเข้ารับบริการการศึกษาทุกรูปแบบ 2) กำหนดแนวทางและความเชื่อมโยงในการจัดและพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา 3) ดำเนินการจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือทั้ง 3 รูปแบบ 4) ประสานเชื่อมโยงประสานความร่วมมือและส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา 5) ติดตามประเมินผลการส่งเสริมและประสานงานการจัดการศึกษา

12 การส่งเสริมกิจการนักเรียน แนวทางการปฏิบัติ วางแผนกำหนดแนวทางการส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักเรียนของสถานศึกษา ดำเนินการจัดกิจกรรมนักเรียนและส่งเสริมสนับสนุน จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึกปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง สรุปและประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไขการส่งเสริมกิจการนักเรียนเพื่อให้การจัดกิจกรรมเกิดคุณค่าและประโยชน์ต่อผู้เรียนอย่างแท้จริง

13 การประชาสัมพันธ์ แนวทางการปฏิบัติ ศึกษาความต้องการในการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลและผลงานของสถานศึกษา 2) วางแผนการประชาสัมพันธ์ของสถานศึกษา 3) จัดให้มีเครือข่ายการประสานงานประชาสัมพันธ์ 4) พัฒนาบุคลากรผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ให้มีความรู้ความสามารถ 5) สร้างกิจกรรมกากรประชาสัมพันธ์ 6) ติดตามประเมินผลการประชาสัมพันธ์

14 การส่งเสริมสนับสนุนและประสานจัดการศึกษาของบุคคลชุมชนองค์กร และหน่วยงานอื่น แนวทางการปฏิบัติ แนวทางการปฏิบัติ กำหนดแนวทางการส่งเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการศึกษาของบุคคลชุมชน 2) ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริมสนับสนุนและประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษา

15 การจัดระบบควบคุมภายในหน่วยงาน แนวทางการปฏิบัติ 1) วิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาตามโครงสร้างและภารกิจสถานศึกษา 2) วิเคราะห์ความเสี่ยงของการดำเนินงานกำหนดปัจจัยเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยง 3) กำหนดมาตรการในการป้องกันความเสี่ยงในการดำเนินงานของสถานศึกษา 4) วางแผนการจัดระบบการควบคุมภายในสถานศึกษา 5) ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายนำมาตรการป้องกันความเสี่ยงไปใช้ในการควบคุมการดำเนินงานตาม6) ดำเนินการควบคุมตามหลักเกณฑ์มาตรการและวิธีการที่สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินกำหนด 7) ประเมินผลการดำเนินการควบคุมภายใน ตามมาตรการที่กำหนดและปรับปรุงให้เหมาะสม 8) รายงานผลการประเมินการควบคุมภายใน

16 งานบริการสาธารณะ 1) จัดให้มีระบบบริการสาธารณะ แนวทางการปฏิบัติ 1) จัดให้มีระบบบริการสาธารณะ 2) จัดระบบข้อมูลข่าวสารของสถานศึกษาเพื่อให้บริการต่อสาธารณะ 3) ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และบริการอื่นแก่สาธารณะ 4) พัฒนาระบบการให้บริการแก่สาธารณชนให้มีประสิทธิภาพ เกิดความพึงพอใจต่อผู้มารับบริการ 5) ประเมินความพึงพอใจงานบริการสาธารณะจากผู้มาของรับบริการ 6) นำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไขพัฒนาระบบงานบริการสาธารณะ

17 งานที่ไม่ได้ระบุไว้ในงานอื่น แนวทางการปฏิบัติ 1) จัดให้มีบุคลากร รับผิดชอบงานตามความเหมาะสมและศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน 2) ให้ผู้ที่รับผิดชอบงานวางแผนการปฏิบัติงานและดำเนินงานให้เสร็จสิ้น 3) กำกับติดตาม การดำเนินงานของผู้ที่ได้รับมอบหมาย 4) ประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ที่ได้รับมอบหมาย

18 งานกิจการนักเรียน งานกิจการนักเรียนมีขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการพัฒนาการของนักเรียนในทุกๆด้านรวมทั้งส่งเสริมด้ายวิชาการให้กับผู้เรียนได้มีความรู้เจตคติที่ดีและทักษะต่างๆที่กำหนดไว้ใน หลักสูตรสถานศึกษาซึ่งมีขอบข่ายงานและภารกิจดังนี้ ขอบข่ายการบริหารงานกิจการนักเรียน 1. งานปกครอง 2. งานกิจกรรมนักเรียน 3. งานบริการและสวัสดิการ

18 งานกิจการนักเรียน 1. งานปกครอง 1 .ควบคุมการแต่งกายของนักเรียนให้เป็นไปตามระเบียบของโรงเรียน 2. ควบคุมการปฏิบัติตลอดจนพฤติกรรมนักเรียน 3. ควบคุมการออกนอกบริเวณโรงเรียนของนักเรียนเมื่ออยู่ในโรงเรียน 4. ส่งเสริมสนับสนุน ให้คำแนะนำแก่สภานักเรียน สารวัตรนักเรียนในการปฏิบัติงาน ด้านการปฏิบัติตนให้มีระเบียบวินัยของนักเรียน 5. จัดตำรวจนักเรียนปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลความเรียบร้อยในโรงอาหาร นักเรียนมาสายและการเข้าออกของนักเรียน ตรวจบัตรเดินทางกลับบ้าน 6. จัดนักเรียนดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการทำกิจกรรม

18 งานกิจการนักเรียน 1. งานปกครอง (ต่อ) 7.ให้คำชี้แนะว่ากล่าวตักเตือนและติดตามนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม 8.ให้การส่งเสริม สนับสนุนในด้านคุณธรรม จริยธรรม 9.ประสานกับครูประจำชั้นรายงานพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน 10.ประสานกับฝ่ายสัมพันธ์ชุมชนเชิญผู้ปกครองของนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ มาพูดคุยร่วมกันเพื่อช่วยในการแก้ปัญหาของนักเรียน 11.ประสานกับฝ่ายอาคารสถานที่ในการดูแลความเรียบร้อยความสะอาด 12.ดูแล จัดทำบันทึกด้านส่งเสริมสนับสนุนการอบรม

18 งานกิจการนักเรียน 2. งานกิจกรรมนักเรียน 1.ให้การสนับสนุนนักเรียนเข้าร่วมและมีความรับผิดชอบช่วยเหลือในกิจกรรมของโรงเรียน 2.ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักใช้สิทธิและหน้าที่ของตนในการปกครองระบอบประชาธิปไตย 3.ฝึกให้นักเรียนรู้จักการทำงานเป็นทีมรู้จัดการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 4.ฝึกให้นักเรียนมีความคิดริเริ่มและร่วมมือร่วมใจพัฒนาโรงเรียนในทุกด้าน 5.ให้ความรู้สนับสนุนและเน้นให้นักเรียนได้เข้าร่วมในกิจกรรมประเพณีและวัฒนธรรม ท้องถิ่น 6.ให้การสนับสนุนนักเรียน มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจและมีบุคลิกภาพที่ดี 7.สนับสนุนในการจัดกิจกรรมต่างๆในโรงเรียน 8.ฝึกให้นักเรียนรู้จักการประหยัดและอดออม 9.จัดทำทำเนียบรุ่นสำหรับนักเรียนที่จบการศึกษาในแต่ละปีการศึกษา

18 งานกิจการนักเรียน 3. งานบริการและสวัสดิการ 1. จัดบริการอาหารกลางวัน น้ำดื่ม แก่นักเรียนทั้งโรงเรียน 2. จัดบริการอาหารเสริมนมแก่นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่1ถึงชั้นประถมปีที่ 6 3. ให้บริการอาหารกลางวันแก่บุคลากรทั้งโรงเรียน 4. ดูแล ให้การปฐมพยาบาลแก่นักเรียนและบุคลากรที่ได้รับอุบัติเหตุ 5. ให้การดูแลนักเรียนที่เจ็บป่วยได้นอนพักในห้องพยาบาลและประสานผู้ปกครอง 6.ให้บริการทดสอบสายตา ทดสอบการได้ยินตรวจสุขภาพฟันแก่นักเรียนในโรงเรียน 7.ประสานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการฉีดวัคซีนต่างๆตามวัยของนักเรียน 8.จัดทำข้อมูลแสดงภาวการณ์เจริญเติบโตของนักเรียน(น้ำหนัก/ส่วนสูง)เปรียบเทียบ กับเกณฑ์มาตรฐาน 9.บริการจัดเตรียมเอกสารเกี่ยวกับงานอนามัยโรงเรียนให้กับฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง 10.จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ในด้านสุขภาพร่างกายและสุขศึกษาในโรงเรียน

คำสั่ง หนังสือสั่งการ หนังสือสั่งการ มี 3 ประเภท ได้แก่ คำสั่ง ระเบียบ และข้อบังคับ คำสั่ง คือบรรดาที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบ ด้วยกฎหมาย ใช้กระดาษครุฑ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ คำสั่ง ให้ลงชื่อส่วนราชการ หรือตำแหน่งของผู้มีอำนาจที่ออกคำสั่ง ที่ ให้ลงเลขที่ที่ออกคำสั่ง โดยเริ่มฉบับแรกจากเลข 1 เรียงลำดับไปจนถึงสิ้นปีปฏิทินทับเลขปีพุทธศักราชที่ออกคำสั่ง เรื่อง ให้ลงชื่อเรื่องที่ออกคำสั่ง ข้อความ ให้อ้างเหตุที่ออกคำสั่ง และอ้างถึงอำนาจที่ให้ออกคำสั่ง(ถ้ามี) ไว้ด้วย แล้วจึงลงข้อความที่สั่งและวันใช้บังคับ สั่ง ณ วันที่ ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขปีพุทธศักราชที่ออกคำสั่ง ลงชื่อ ให้ลงลายมือชื่อผู้ออกคำสั่ง และพิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือไว้ใต้ลายมือชื่อ ตำแหน่ง ให้ลงตำแหน่งของผู้ออกคำสั่ง คำสั่ง

รูปแบบตัวอย่าง การพิมพ์คำสั่ง

ระเบียบ คือ บรรดาข้อความที่ผู้ที่มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้ โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายหรือไม่ก็ได้ เพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติงานเป็นการประจำ ใช้กระดาษครุฑ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ - ระเบียบ ให้ลงชื่อส่วนราชการที่ออกระเบียบ - ว่าด้วย ให้ลงชื่อของระเบียบ - ฉบับที่ ถ้าเป็นระเบียบที่กล่าวถึงเป็นครั้งแรกในเรื่องนั้น ไม่ต้องลงว่าเป็นฉบับที่เท่าใด - พ.ศ. ให้ลงตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกระเบียบ - ข้อความ ให้อ้างเหตุผลโดยย่อ เพื่อแสดงถึงความมุ่งหมายที่ต้องออกระเบียบ และอ้างถึงกฎหมายที่ให้อำนาจออกระเบียบ (ถ้ามี) - ข้อ ให้เรียงข้อความที่จะใช้เป็นระเบียบ เป็นข้อๆ โดยให้ข้อ 1 เป็นชื่อระเบียบ ข้อ 2 เป็นวันบังคับ กำหนดว่าให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด และข้อสุดท้าย เป็นข้อผู้รักษาการ - ประกาศ ณ วันที่ ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกระเบียบ - ลงชื่อ ให้ลงลายมือชื่อผู้ออกระเบียบ และพิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อไว้ใต้ลายมือชื่อ - ตำแหน่ง ให้ลงตำแหน่งของผู้ออกระเบียบ ระเบียบ

รูปแบบตัวอย่าง การพิมพ์ระเบียบ

ข้อบังคับ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจที่กำหนดให้ใช้ โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายที่บัญญัติให้กระทำได้ใช้กระดาษครุฑ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ -ข้อบังคับ ให้ลงชื่อส่วนราชการที่ออกข้อบังคับ -ว่าด้วย ให้ลงชื่อข้อบังคับ -ฉบับที่ ถ้าเป็นข้อบังคับที่กล่าวถึงเป็นครั้งแรกในเรื่องนั้น ไม่ต้องลงว่าเป็นฉบับที่เท่าใด แต่ถ้าเป็นระเบียบเรื่องเดียวกันทีมีการแก้ไขเพิ่มเติม ให้ลงเป็นฉบับที่ 2 และฉบับที่ถัดๆไปตามลำดับ -พ.ศ. ให้ลงตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกระเบียบ -ข้อความ ให้อ้างเหตุผลโดยย่อ เพื่อแสดงถึงความมุ่งหมายที่ต้องออกข้อบังคับ และอ้างถึงกฎหมายที่ให้อำนาจออกบังคับ -ข้อ ให้เรียงข้อความที่ใช้บังคับเป็นข้อๆโดยให้ข้อ 1 เป็นชื่อข้อบังคับ ข้อ 2 เป็นวันใช้บังคับ กำหนดว่าให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด และข้อสุดท้ายเป็นข้อผู้รักษาการ -ประกาศ ณ วันที่ ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกข้อบังคับ -ลงชื่อ ให้ลงลายมือชื่อผู้บังคับ และพิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อไว้ใต้ลายมือชื่อ -ตำแหน่ง ให้ลงตำแหน่งของผู้ออกข้อบังคับ ข้อบังคับ

รูปแบบตัวอย่าง การพิมพ์ข้อบังคับ

และระเบียบวาระการประชุม รูปแบบรายงาน และระเบียบวาระการประชุม รูปแบบตัวอย่าง การพิมพ์แบบรายงาน และระเบียบวาระการประชุม